ชีวเคมีทางการเกษตร

Biochemistry for Agriculture

1.1 รู้หน้าที่และองค์ประกอบของเซลล์ในสิ่งมีชีวิต
1.2 เข้าใจโครงสร้าง และคุณสมบัติทางเคมีของสารชีวโมเลกุลในสิ่งมีชีวิต
1.3 เข้าใจเมแทบอลิสมของสารชีวโมเลกุลและกระบวนการควบคุมเมทาโบลิซึมด้วยฮอร์โมนในสิ่งมีชีวิต
1.4 เข้าใจกระบวนการถ่ายทอดข้อความทางพันธุกรรม
1.5 แสดงทักษะการใช้เครื่องมืออุปกรณ์พื้นฐานและเทคนิคต่างๆ ทางชีวเคมี จนเกิดความเข้าใจ
1.6 แสดงทักษะการปฏิบัติการทดลองเกี่ยวกับสารชีวโมเลกุลในสิ่งมีชีวิต
1.7 แสดงทักษะการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าในการปฏิบัติการทดลองได้อย่างเหมาะสม
1.8 แสดงทักษะในการทำงานเป็นกลุ่ม มีความรับผิดชอบและปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่น
1.9 เห็นความสำคัญของการศึกษาชีวเคมีในสิ่งมีชีวิต และการนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและในวิชาชีพอย่างเหมาะสม
เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเท่าทันการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน ทั้งนี้ได้มีการติดตามความก้าวหน้า และการยกตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องกับแนวโน้มในสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวข้องตามยุคสมัย โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ web based เพื่อสามารถเชื่อมโยงความรู้ในรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับเซลล์ และองค์ประกอบของเซลล์ เอ็นไซม์ โครงสร้างและสมบัติของสารชีวโมเลกุล  เมทาโบลิซึมของ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีนและกรดนิวคลีอิก การถ่ายทอดข้อความทางพันธุกรรม ฮอร์โมนที่ควบคุมเมทาโบลิซึมในสิ่งมีชีวิต
จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์ เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำนอกชั้นเรียน อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ชั่วโมง ผ่านช่องทาง ดังนี้
3.1  อาคารสาขาวิทยาศาสตร์ ห้อง 821 หรือ เบอร์โทร. 0861839988 วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 16.00 - 17.00 น.
3.2  e-mail : visutthithada_runvi@hotmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
3.3  Facebook : Aj Viran เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
3.4  line : kobzazaa เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
     1.1.1 มีจิตนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
     1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
     1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
     1.1.4 เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
     1.2.1 การจัดกิจกรรมรายกลุ่มในชั้นเรียน
     1.2.2 การลงมือปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ
     1.2.3 การมอบหมายงานแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม
     1.2.4 การทำข้อสอบหรือแบบทดสอบ
     1.2.5 ประพฤติตนเป็นแบบอย่าง
     1.3.1 การเช็คส่งงานที่มอบหมาย
     1.3.2 แบบสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
     1.3.3 ใบเช็คชื่อการเข้าเรียน
     1.3.4 การไม่ทุจริตในการสอบ
     2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
     2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
     2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
     2.2.1 การจัดกิจกรรมเข้ากลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดมสมองและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
     2.2.2 การเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง (การทดลองในห้องปฏิบัติการ, แหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน, เวปไซต์)
     2.2.3 การเรียนรู้จากการศึกษาด้วยต้นเองโดยใช้สื่อผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
     2.2.4 การทำข้อสอบหรือแบบทดสอบ
     2.3.1 แบบสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน (ทักษะปฏิบัติการทดลอง)
     2.3.2 การทำแบบทดสอบหรือการตอบคำถาม
     2.3.3 การประเมินคุณภาพของงานที่มอบหมาย (สมุดบันทึก, สมุดรายงานผลการทดลอง )
    3.1.1 มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
    3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
     3.2.1 การจัดกิจกรรมเข้ากลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดมสมองจากโจทย์ปัญหาที่มอบหมายและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
     3.2.2 การเรียนรู้จากการแสดงความคิดเห็นหรือการอภิปรายรายบุคคลหรือรายกลุ่มเพื่อแก้โจทย์จากตัวอย่างกรณีศึกษาที่กำหนดให้หรือประเด็นปัญหาที่น่าสนใจ
     3.2.3 การมอบหมายงาน กิจกรรมหรือโครงการที่มีการบูรณาการระหว่างรายวิชากับชีวิตประจำวันหรือวิชาชีพ
    3.3.1 การประเมินระบบการคิด วิเคราะห์โจทย์ 
    3.3.2 แบบสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน (การวางแผนในการคิดและตัดสินใจแก้โจทย์ปัญหาที่เกิดขึ้น)
    3.3.3 การประเมินคุณภาพของงานที่มอบหมาย (มีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์)
     4.1.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
     4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
     4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
     4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
    4.2.1 การเรียนรู้จากปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้สอน และผู้เรียนกับสังคม
    4.2.2 การจัดกิจกรรมเข้ากลุ่ม ที่มีการทำงานเป็นทีมเพื่อแก้ไขโจทย์ปัญหาหรือทำการทดลองในห้องปฏิบัติการ
    4.3.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการทำและร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนในสถานการณ์ที่กำหนด (การทำงานเป็นทีม, การยอมรับฟังความคิดเห็น, การปรับตัวเข้ากับผู้อื่นและสังคม)
    4.3.2 การประเมินคุณภาพของงานที่มอบหมาย
     5.1.1 เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม
     5.1.2 สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
     5.1.3 ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
     5.2.1 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ใช้ความสามารถในการเลือกสารสนเทศเพื่อการสืบค้น ศึกษา และวิเคราะห์ข้อเท็จจริงในประเด็นปัญหาที่น่าสนใจ นำมาสรุปและนำเสนอเนื้อหา ให้เหมาะสมกับผู้ฟัง
     5.3.1 แบบสังเกตพฤติกรรมทำกิจกรรมในชั้นเรียน (การเลือกใช้สารสนเทศที่เหมาะสม)
     5.3.2 การประเมินคุณภาพของงานกลุ่มที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม 5.2 สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.3 ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
1 BSCCC111 ชีวเคมีทางการเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม, 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม - การเข้าชั้นเรียน - ความรับผิดชอบส่งงานที่มอบหมายและความสำเร็จตามกำหนดเวลา ทุกสัปดาห์ 10%
2 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา, 3.1 มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ, 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ, 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม - การแสดงพฤติกรรมในชั้นเรียน (ทักษะปฏิบัติการทดลอง, การทำงานเป็นทีม, การยอมรับฟังความคิดเห็น, การปรับตัวเข้ากับผู้อื่นและสังคม, ระบบการคิดวิเคราะห์โจทย์, การวางแผนในการคิดและตัดสินใจแก้โจทย์ปัญหาที่เกิดขึ้น) - การแสดงความคิดเห็น - การร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 20%
3 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา, 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม, 5.2 สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม - การทดสอบย่อย - การถาม-ตอบปากเปล่า ทุกสัปดาห์ 10%
4 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษ, 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ, 5.2 สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม - คุณภาพของงานที่มอบหมาย (สมุดบันทึก, สมุดรายงานผลการทดลอง, การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน, มีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์) - การเลือกใช้สารสนเทศที่เหมาะสม ทุกสัปดาห์ 20%
5 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม, 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา, 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ การสอบกลางภาค 3 20%
6 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม, 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา, 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ การสอบปลายภาค 7 20%
1) คณาจารย์แผนกเคมีและชีวเคมี (2560). เอกสารประกอบการสอนวิชาชีวเคมีทางการเกษตร, พิมพ์ครั้งที่ 3. สาขาวิทยาศาสตร์ มทร.ล้านนา น่าน, 250 หน้า.
2) คณาจารย์แผนกเคมีและชีวเคมี (2560). คู่มือปฏิบัตการวิชาชีวเคมีทางการเกษตร, พิมพ์ครั้งที่ 3. สาขาวิทยาศาสตร์ มทร.ล้านนา น่าน, 110 หน้า
 
1) ดาวัลย์ฉิมภู่ (2549). ชีวเคมี. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พิมพ์ครั้งที่ 2
2) Cheswarth, J.M., Sruchbury T., and Scaife JR., (1998). Agricultural Biochemistry. St.Edmundsbury Press, Suffolk.
3) McKee, T.  (1996). Biochemistry; an Introduction, 1st ed,  A Time Mirror Company, USA
1) คณาจารย์ (2542) คู่มือการสอนชีวเคมี 1 ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
2) Devlin, TM. (1997) Biochemistry with clinical correlations, 4th ed,  Wiley-Liss, New York
3) Marks, DB.  (1996) Basic Medical Biochemistry; a clinical approach, 1st ed,  William and Wilkins Company, USA
4) International Service for the Acquisition of Agri-Biotech Applications. (2014). ISAAA brief 49-2014: Executive summary. Retrieved from http://www.isaaa.org/resources /publications/briefs/49/executivesummary/default.asp.
5) Brookes, G., & Barfoot, P. (2014). GM crops: global socio-economic and environmental impacts 1996–2012. Dorchester, UK: PG Economics Ltd. p. 11. Retrieved from http:// www.pgeconomics.co.uk/ pdf/2014globalimpactstudyfinalreport. Pdf
6) Applications of recombinant DNA technology. (2016). Virtual Learning Environment of the Faculty of Applied Sciences, University of Sri Jayewardenepura. Retrieved from http://www.sci.sjp.ac.lk/vle/pluginfile.php/11386/mod_resource/content/0/Applications_1.pdf.
 
ให้นักศึกประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง โดยผ่านกิจกรรม ดังนี้
1.1) การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
1.2) แบบประเมินผู้สอน หรือแบบประเมินรายวิชา
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเอง โดยดูจากผลการเรียนของนักศึกษา เพื่อเป็นแนวทางแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนและรายวิชาให้ทันเหตุการณ์ปัจจุบัน
อาจารย์ผู้สอนต้องติดตามความก้าวหน้าขององค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง (มีการใช้เอกสารประกอบการสอนที่ย้อนหลังไม่เกิน 5 ปี) หรือเข้าร่วมอบรมสัมมนาการจัดกระบวนการเรียนการ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้กลยุทธ์และวางแผนปรับปรุงการเรียนการสอน
4.1 การทวนสอบโดยอาจารย์ผู้สอนทวนสอบจากคะแนนสอบหรืองานกิจกรรมหรือโครงการบูรณาการที่มอบหมาย หรือ  
4.2 การทวนสอบโดยให้นักศึกษาประเมินการเรียนการสอนในระดับรายวิชา
4.3 มีกระบวนการทวนสอบ ฯ ในระดับกระบวนวิชา ที่สอดคล้องกับหลักสูตร (มคอ.2 หมวด 4 และหมวด 5) ให้ครอบคลุม ครบถ้วน และตรงตามที่หลักสูตรกำหนด
5.1) ทบทวนและปรับปรุงเนื้อหาที่สอน กลยุทธ์การสอนและจัดหาอุปกรณ์สื่อการสอนให้มีความก้าวหน้าตามยุคสมัย
5.2) การประเมินผลผู้เรียนอย่างสม่ำเสมอ จากแบบทดสอบย่อย เพื่อจะได้ปรับปรุงกลยุทธ์การสอนให้เหมาะสมตามสถานการณ์
5.3) การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา (ใน มคอ.5) เสนอต่อหลักสูตรเพื่อพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงในภาคการศึกษาต่อไป