วาดเส้น

Drawing

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เรื่องการเขียนภาพเทคนิควาดเส้นพื้นฐานจากหุ่นนิ่ง หุ่นปูนปลาสเตอร์ การเขียนภาพสิ่งของในลักษณะต่างๆ ตลอดจนภาพสัตว์และภาพคนด้วยดินสอดำ ดินสอถ่านหรือวัสดุอื่นๆที่สามารถใช้ในการวาดเส้น โดยเน้นความถูกต้องในรูปแบบเหมือนจริงในรูปทรง สัดส่วน พื้นผิว ปริมาตร แสงเงา ระยะใกล้ไกลที่ถูกต้อง และมีการแสดงออกทางเทคนิคอันเหมาะสม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องราวของพื้นฐานทางทฤษฎี รู้ความหมาย ความเป็นมา และรูปแบบของงานวาดเส้นประเภทต่างๆ เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการ ทฤษฎีทางศิลปะที่นำมาใช้ในงานวาดเส้น และมีทักษะการใช้วัสดุอุปกรณ์ทีใช้ในงานวาดเส้น เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจ วิธีการวาดเส้นในรูปแบบเหมือนจริงในองค์ประกอบของรูปร่างรูปทรง สัดส่วน ระยะ แสงเงา ในเนื้อหา หุ่นนิ่งของสิ่งของ สัดส่วนลีลาท่าทางของสัตว์ คน สามารถเลือกใช้เทคนิคในการเขียนได้อย่างเหมาะสม เพื่อให้นักศึกษามีทักษะเชิงปฏิบัติในการวาดเส้นในรูปแบบที่เหมือนจริง สามารถใช้องค์ประกอบของรูปร่างรูปทรง สัดส่วน ระยะ แสงเงา ในเนื้อหา หุ่นนิ่งของสิ่งของ สัดส่วนลีลาท่าทางของสัตว์ และคน โดยใช้เทคนิคในการเขียนได้อย่างเหมาะสม เพื่อให้นักศึกษามีเจตนคติที่ดีและเห็นความสำคัญของการวาดเส้นที่เป็นพื้นฐานของงานทัศนศิลป์ เพื่อพัฒนาสู่การเรียนในวิชาเอกเฉพาะทางต่อไป
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการเขียนภาพพื้นฐาน โดยเน้นสัดส่วนโครงสร้างและแสงเงาที่ถูกต้อง
3  ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
             2.1     ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานที่ได้รับมอบหมายภายในเวลาที่กำหนด
              2.2     บรรยายพร้อมหนังสือที่เกี่ยวข้องและ สื่อคอมพิวเตอร์ประกอบ   
              2.3    ให้นักศึกษาปฏิบัติงานวาดเส้นทั้งในและนอกสถานที่
3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
3.2   ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายด้วยแบบประเมินงานปฏิบัติ
3.3   ประเมินผลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยแบบทดสอบกลางภาคและปลายภาค
มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องราวเชิงทฤษฎีของการวาดเส้น เขียนภาพจากหุ่นนิ่ง หุ่นปูนปลาสเตอร์ ตลอดจนการเขียนภาพ สิ่งของ สัตว์และคนด้วยดินสอหรือดินสอถ่าน โดยเน้นความถูกต้องตามความจริงในรูปทรง สัดส่วน แสงเงาระยะใกล้ไกลและมีการแสดงออกทางเทคนิคอันเหมาะสม
            บรรยายพร้อมสื่อคอมพิวเตอร์ประกอบ
             2.2.2   บรรยายพร้อมการศึกษาปฏิบัติงานทั้งในและนอกสถานที่
               2.2.3   มอบหมายงานปฏิบัติเรื่องการเขียนภาพต่างๆเพื่อให้เกิดทักษะในการวาดเส้นตามหัวข้อที่กำหนด
                2.2.4   ประเมินผล วิจารณ์และแนะนำแก้ไข
2.3.1   ประเมินจากผลงานปฏิบัติ การวาดเส้นได้สมบูรณ์ตามหัวข้อที่มอบหมาย
2.3.2   ประเมินจากผลงานปฏิบัติการพูดนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
2.3.3   ประเมินจากผลงานปฏิบัติการการายงานผลการศึกษาดูงานนอกสถานที่
2.3.4   สอบกลางภาค และสอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดความรู้ความเข้าใจและเจตคติ
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
              3.1.1   มีการพัฒนาด้านความรู้และความเข้าใจและเจตคติ
              3.1.2   สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางทฤษฎี ไปสู่ความเข้าใจ เพื่อการสร้างสรรค์งานจริงภาคปฏิบัติให้เกิดความงามทางสุนทรียศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการวาดเส้น
3.2 วิธีการสอน
    3.2.1   บรรยายพร้อมตั้งคำถามเพื่อสอบถามความคิดเห็น
    3.2.2   มอบหมายงานที่ส่งเสริมความจำ ความรู้ และความเข้าใจ จากการบรรยายและ
3.2 วิธีการสอน
    3.2.1   บรรยายพร้อมตั้งคำถามเพื่อสอบถามความคิดเห็น
    3.2.2   มอบหมายงานที่ส่งเสริมความจำ ความรู้ และความเข้าใจ จากการบรรยายและ
ศึกษาเพื่อปฏิบัติจริงทั้งในและนอกสถานที่
    3.2.3   ให้นักศึกษารู้จักแก้ไขปัญหาจากการทักษะปฏิบัติงานจริง
    3.2.4   สังเกตพฤติกรรมจากการปฏิบัติการพูดหน้าชั้นเรียน
    3.2.5   สังเกตพฤติกรรมจากการปฏิบัติงานเดี่ยว และการรวมกลุ่มในชั้นเรียน
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน
4.1.2   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.3   มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตาม
          กำหนดเวลา
4.2 วิธีการสอน
4.2.1   ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
4.2.2   ให้ความสำคัญในการแบ่งเวลาในการเรียนและการทำกิจกรรมอย่างเหมาะสม
4.3 วิธีการประเมินผล
4.3.1   การเข้าห้องเรียน ตลอดภาคการศึกษา 16 สัปดาห์  และพิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมของ
          นักศึกษา
4.3.2  ประเมินผลจากแบบประเมินตนเอง  ประเมินสถานที่ดูงาน และกิจกรรมกลุ่ม
4.3.3  ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1.1   สามารถสรุปประเด็นจากการสื่อสารระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ได้ถูกต้อง
5.1.2   สามารถเลือกรูปแบบของสื่อการสอน ที่เหมาะสมกับเนื้อหา  ที่แตกต่างกันได้อย่างมี
          ประสิทธิภาพ
5.1.3   มีทักษะในการการเขียนภาพจากหุ่นนิ่ง หุ่นปูนปลาสเตอร์ ตลอดจนการเขียนภาพ สิ่งของ สัตว์และคนด้วยดินสอหรือดินสอถ่าน โดยเน้นความถูกต้องตามความจริงในรูปทรง สัดส่วน แสงเงาระยะใกล้ไกลและมีการแสดงออกทางเทคนิคอันเหมาะสม
5.2 วิธีการสอน
5.2.1   สอนแบบบรรยายประกอบสื่อการสอน เช่นตัวอย่างงาน แบบจำลอง สื่อการสอนนโปรแกรมนำเสนอ Powerpoint
5.2.2   สอนแบบบรรยายประกอบการศึกษานอกสถานที่
5.2.3   มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ และให้นักศึกษาส่งงานที่
มอบหมาย
         5.3 วิธีการประเมินผล
5.3.1  ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยแบบทดสอบกลางภาคเรียน
           และปลายภาคเรียน  30 %   
5.3.2   ประเมินผลการทำงานปฏิบัติด้วยคะแนน 60 %
5.3.3   ประเมินผลจิตพิสัย 10 %
 
6. ทักษะพิสัย
    6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
         6.1.1 มีทักษะด้านออกแบบและใช้เครื่องมือปฏิบัติงานสองมิติ
         6.1.2 มีทักษะด้านแนวคิดทางการออกแบบ ด้านความงาม ด้านประโยชน์ใช้สอย
6.2 วิธีการสอน
       มอบหมายงานให้ศึกษาข้อมูลเพื่อสร้างแนวคิดในการออกแบบและปฏิบัติงานออกแบบตามหลักการวาดเส้น
6.3 วิธีการประเมินผล
     ประเมินจากผลงานที่ได้ปฏิบัติงานของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 3 1 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BFACC402 วาดเส้น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล