การออกแบบแฟชั่น 2
Fashion Design 2
1.1 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการการออกแบบแฟชั่นรูปแบบชุดลำลอง ชุดทำงาน และ ชุดที่ใช้ในโอกาสพิเศษ
1.2 รู้และเข้าใจการออกแบบแฟชั่นรูปแบบชุดลำลอง ชุดทำงานและ ชุดที่ใช้ในโอกาสพิเศษ ตามหลักกระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนางานออกแบบแฟชั่น สู่สากล
1.3 รู้และเข้าใจการนำแนวคิดและทฤษฎีกระบวนการออกแบบ 6 ขั้นนำมาใช้ในกระบวนการ การออกแบบแฟชั่น
1.4 มีทักษะในการนำแนวความคิดและทฤษฎี มาสร้างสรรค์การออกแบบแฟชั่นที่มีความเป็นอัตลักษณ์เชิงวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมลาวตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์สู่สากลอย่างยั่งยืน
1.5 มีคุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบ และการส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน
1.2 รู้และเข้าใจการออกแบบแฟชั่นรูปแบบชุดลำลอง ชุดทำงานและ ชุดที่ใช้ในโอกาสพิเศษ ตามหลักกระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนางานออกแบบแฟชั่น สู่สากล
1.3 รู้และเข้าใจการนำแนวคิดและทฤษฎีกระบวนการออกแบบ 6 ขั้นนำมาใช้ในกระบวนการ การออกแบบแฟชั่น
1.4 มีทักษะในการนำแนวความคิดและทฤษฎี มาสร้างสรรค์การออกแบบแฟชั่นที่มีความเป็นอัตลักษณ์เชิงวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมลาวตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์สู่สากลอย่างยั่งยืน
1.5 มีคุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบ และการส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจการออกแบบแฟชั่นรูปแบบชุดลำลอง ชุดทำงานและ ชุดที่ใช้ในโอกาสพิเศษ ตามหลักกระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนางานออกแบบแฟชั่น สู่สากล ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ แนวคิดทฤษฎีกระบวนการออกแบบ 6 ขั้นและนำผลของการประเมินที่ได้จากนักศึกษาและสาธารณชนมาปรับปรุงพัฒนารายวิชาต่อไป
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการออกแบบแฟชั่นรูปแบบชุดลำลอง ชุดทำงานและ ชุดที่ใช้ในโอกาสพิเศษตามหลักกระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนางานออกแบบแฟชั่น สู่สากล
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยาย ค้นคว้าวิจัย เพื่อให้ได้ผลงานโครงการวิจัยนวัตกรรมแฟชั่นสร้างสรรค์ภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์บนฐานพลังวัฒนธรรมไทยและลาวสู่ตลาดสากลพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
มีความรู้ ความเข้าใจ การออกแบบแฟชั่นรูปแบบชุดลำลอง ชุดทำงานและ ชุดที่ใช้ในโอกาสพิเศษ ตามหลักกระบวนการวิจัย แนวคิดทฤษฎี กระบวนการออกแบบ 6 ขั้น ออกแบบแฟชั่นที่มีความเป็นอัตลักษณ์เชิงวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมลาวตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ สู่สากล และสามารถนำความรู้ที่ได้มาต่อยอดสร้างสรรค์แฟชั่นงานโครงการ ปี 4 ของนักศึกษา
มีความรู้ ความเข้าใจ การออกแบบแฟชั่นรูปแบบชุดลำลอง ชุดทำงานและ ชุดที่ใช้ในโอกาสพิเศษ ตามหลักกระบวนการวิจัย แนวคิดทฤษฎี กระบวนการออกแบบ 6 ขั้น ออกแบบแฟชั่นที่มีความเป็นอัตลักษณ์เชิงวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมลาวตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ สู่สากล และสามารถนำความรู้ที่ได้มาต่อยอดสร้างสรรค์แฟชั่นงานโครงการ ปี 4 ของนักศึกษา
บรรยาย ยกตัวอย่างปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานตามกระบวนการวิจัย แนวคิดทฤษฎี
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากการปฏิบัติงานเป็นรายเดี่ยว และรายกลุ่มบางครั้ง ในชั้นเรียนและการนำเสนอผลงานนอกห้องเรียนต่อสาธารณชนพร้อมทั้งให้สาธารณะชนได้ประเมินติติงผลงานของนักศึกษาส่วนหนึ่ง
2.3.2 ประเมินจากการปฏิบัติงานเป็นรายเดี่ยว และรายกลุ่มบางครั้ง ในชั้นเรียนและการนำเสนอผลงานนอกห้องเรียนต่อสาธารณชนพร้อมทั้งให้สาธารณะชนได้ประเมินติติงผลงานของนักศึกษาส่วนหนึ่ง
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
พัฒนาความสามารถในการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์ อย่างเป็นระบบ ต่อกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งผลงานการออกแบบแฟชั่นตามหลักกระบวนการวิจัย ทฤษฎีกระบวนการออกแบบ 6 ขั้นตอน เพื่อพัฒนางานออกแบบแฟชั่น สู่สากล
พัฒนาความสามารถในการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์ อย่างเป็นระบบ ต่อกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งผลงานการออกแบบแฟชั่นตามหลักกระบวนการวิจัย ทฤษฎีกระบวนการออกแบบ 6 ขั้นตอน เพื่อพัฒนางานออกแบบแฟชั่น สู่สากล
3.2.1 บรรยายและอธิบายโดยใช้สื่อการสอน
3.2.2 การให้นักศึกษาปฏิบัติงานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนแนวคิดซึ่งกันและกันและหลอมรวมเป็นหนึ่งเดียว
3.2.2 การให้นักศึกษาปฏิบัติงานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนแนวคิดซึ่งกันและกันและหลอมรวมเป็นหนึ่งเดียว
3.3.1 สอบกลางภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และสังเคราะห์
3.3.2 สอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และสังเคราะห์
3.3.3 วัดผลจากการประเมินชิ้นงานเป็นรายเดี่ยว
3.3.4 สังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นรายเดี่ยวและรายกลุ่ม
3.3.2 สอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และสังเคราะห์
3.3.3 วัดผลจากการประเมินชิ้นงานเป็นรายเดี่ยว
3.3.4 สังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นรายเดี่ยวและรายกลุ่ม
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 มอบหมายงานรายเดี่ยว
4.2.2 การนำเสนอผลงานเป็นรายกลุ่มบางครั้ง
4.2.2 การนำเสนอผลงานเป็นรายกลุ่มบางครั้ง
4.3.1 ประเมินผลงานรายเดี่ยว
4.3.2 ประเมินผลงานจากการนำเสนอผลงานการทำงานเป็นรายกลุ่มบางครั้ง
4.3.2 ประเมินผลงานจากการนำเสนอผลงานการทำงานเป็นรายกลุ่มบางครั้ง
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก หนังสือ วารสาร เอกสาร บทความ งานวิจัยที่ได้มาจากเว็บไซต์ จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือและจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิ จากการเข้าพบที่ปรึกษาด้านการออกแบบแฟชั่น จากผลงานต้นแบบและจากรูปเล่มรายงานการวิจัย
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสมต่อผลงานของนักศึกษา
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสมต่อผลงานของนักศึกษา
ประเมินผลงานรายเดี่ยว
ประเมินผลงานจากการนำเสนอผลงานการทำงานเป็นรายกลุ่มบางครั้ง
ประเมินผลงานจากการนำเสนอผลงานการทำงานเป็นรายกลุ่มบางครั้ง
พัฒนาความสามารถในการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์ อย่างเป็นระบบ ต่อกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งผลงานการออกแบบแฟชั่นตามหลักกระบวนการวิจัย ทฤษฎีกระบวนการออกแบบ 6 ขั้นตอน เพื่อพัฒนางานออกแบบแฟชั่น สู่สากล
บรรยายและอธิบายโดยใช้สื่อการสอน
การให้นักศึกษาปฏิบัติงานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนแนวคิดซึ่งกันและกันและหลอมรวมเป็นหนึ่งเดียว
การให้นักศึกษาปฏิบัติงานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนแนวคิดซึ่งกันและกันและหลอมรวมเป็นหนึ่งเดียว
สอบกลางภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และสังเคราะห์
สอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และสังเคราะห์
วัดผลจากการประเมินชิ้นงานเป็นรายเดี่ยว
สังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นรายเดี่ยวและรายกลุ่ม
สอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และสังเคราะห์
วัดผลจากการประเมินชิ้นงานเป็นรายเดี่ยว
สังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นรายเดี่ยวและรายกลุ่ม
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล | ไม่มีข้อมูล |
---|
หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
เกสร สุนทรศรี. งานเสื้อผ้าและการแต่งกาย, 2541.
ดนัย เรียบสกุล.การพัฒนากระบวนการออกแบบชุดประจำชาติไทย สำหรับการนำเสนอระดับนานาชาติ .บทความวิจัย.วารสารไทยคดีศึกษา.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,2556.
ทวีศักดิ์ มูลสวัสดิ์.การศึกษาเพื่อพัฒนารูปแบบเครื่องประดับพลอยเนื้ออ่อนของวิสาหกิจชุมชนกาญจนบุรี เพื่อขยายโอกาสทางธุรกิจ.รายงานการวิจัยฉบับย่อ,2554.
นิตยา นวลศิริ. ผ้าทอพื้นบ้านภาคเหนือ.
นพวรรณ หมั้นทรัพย์. ออกแบบเบื้องต้น. เชียงใหม่ :บริษัทนครฟิลม์อินเตอร์กรุฟจำกัด, 2551.
ผกา คุโรวาท. ประวัติเครื่องแต่งกาย. กรุงเทพฯอมรการพิมพ์, 2535.
พวงทองเจือ เขียดทอง. การออกแบบสัญลักษณ์. กรุงเทพฯ : สิปประภา, 2542.
ศูนย์สร้างสรรค์การออกแบบ. ความคิดสร้างสรรค์ในไทย. งานสัมมนา กรุงเทพฯ, 9 มิย. 51.
รจนา ชื่นศิริกุลชัย. การสร้างนักออกแบบกลุ่มวิสาหกิจชุมชนให้มีความเป็นอัตลักษณ์ล้านนาต่อการพัฒนาแฟชั่นในระบบเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ รายงานการวิจัย.สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, 2557.
รจนา ชื่นศิริกุลชัย.ผลิตภัณฑ์เคหะสิ่งทอสีธรรมชาติจากว่านยาอูเนะสู่ตลาดญี่ปุ่น. รายงานการวิจัย.สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2559.
รจนา ชื่นศิริกุลชัย. นวัตกรรมสีฟ้าธรรมชาติจากเมล็ดคอคอเด๊าะต่อการออกแบบผลิตภัณฑ์ของที่
ระลึกและแฟชั่นสู่ตลาดสากล. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) 2559.
oursewares.mju.ac.th:81/e-learning49/ca519/Chapter1/unit1.htm
เกสร สุนทรศรี. งานเสื้อผ้าและการแต่งกาย, 2541.
ดนัย เรียบสกุล.การพัฒนากระบวนการออกแบบชุดประจำชาติไทย สำหรับการนำเสนอระดับนานาชาติ .บทความวิจัย.วารสารไทยคดีศึกษา.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,2556.
ทวีศักดิ์ มูลสวัสดิ์.การศึกษาเพื่อพัฒนารูปแบบเครื่องประดับพลอยเนื้ออ่อนของวิสาหกิจชุมชนกาญจนบุรี เพื่อขยายโอกาสทางธุรกิจ.รายงานการวิจัยฉบับย่อ,2554.
นิตยา นวลศิริ. ผ้าทอพื้นบ้านภาคเหนือ.
นพวรรณ หมั้นทรัพย์. ออกแบบเบื้องต้น. เชียงใหม่ :บริษัทนครฟิลม์อินเตอร์กรุฟจำกัด, 2551.
ผกา คุโรวาท. ประวัติเครื่องแต่งกาย. กรุงเทพฯอมรการพิมพ์, 2535.
พวงทองเจือ เขียดทอง. การออกแบบสัญลักษณ์. กรุงเทพฯ : สิปประภา, 2542.
ศูนย์สร้างสรรค์การออกแบบ. ความคิดสร้างสรรค์ในไทย. งานสัมมนา กรุงเทพฯ, 9 มิย. 51.
รจนา ชื่นศิริกุลชัย. การสร้างนักออกแบบกลุ่มวิสาหกิจชุมชนให้มีความเป็นอัตลักษณ์ล้านนาต่อการพัฒนาแฟชั่นในระบบเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ รายงานการวิจัย.สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, 2557.
รจนา ชื่นศิริกุลชัย.ผลิตภัณฑ์เคหะสิ่งทอสีธรรมชาติจากว่านยาอูเนะสู่ตลาดญี่ปุ่น. รายงานการวิจัย.สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2559.
รจนา ชื่นศิริกุลชัย. นวัตกรรมสีฟ้าธรรมชาติจากเมล็ดคอคอเด๊าะต่อการออกแบบผลิตภัณฑ์ของที่
ระลึกและแฟชั่นสู่ตลาดสากล. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) 2559.
oursewares.mju.ac.th:81/e-learning49/ca519/Chapter1/unit1.htm
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์การให้คำปรึกษาของที่ปรึกษาด้านการออกแบบแฟชั่น กับความรู้ ความเข้าใจ ในการนำมาพัฒนา ประยุกต์ใช้กับผลงานของนักศึกษา
2.2 ผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ในภาคทฤษฎีและผลงานที่ปฎิบัติ
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์การให้คำปรึกษาของที่ปรึกษาด้านการออกแบบแฟชั่น กับความรู้ ความเข้าใจ ในการนำมาพัฒนา ประยุกต์ใช้กับผลงานของนักศึกษา
2.2 ผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ในภาคทฤษฎีและผลงานที่ปฎิบัติ
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สนทนากลุ่มการจัดการเรียนการสอน
3.1 สนทนากลุ่มการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการตรวจผลงานของนักศึกษาโดยมีที่ปรึกษาด้านการออกแบบแฟชั่น จำนวน 9 คน ได้ให้คะแนนจากผลงานที่นักศึกษาได้เข้าพบและจากผลงานต้นแบบ
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการตรวจผลงานของนักศึกษาโดยมีที่ปรึกษาด้านการออกแบบแฟชั่น จำนวน 9 คน ได้ให้คะแนนจากผลงานที่นักศึกษาได้เข้าพบและจากผลงานต้นแบบ
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์