สัมมนาวัฒนธรรมอาเซียน

Seminar in ASEAN Culture

รู้และเข้าในเกี่ยวกับการสัมมนาและแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับวัฒนธรรมของกลุ่มประเทศอาเซียน บริบททางวัฒนธรรม มุ่งนำความรู้จากการสัมมนามาสนับสนุนในด้านการสร้างสรรค์ผลงาน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ การสัมมนาและแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับวัฒนธรรมของกลุ่มประเทศอาเซียน บริบททางวัฒนธรรม และเพื่อให้นักศึกษาได้เข้าใจวัฒนธรรมอาเซียน อันเป็นรากฐานของทุกสิ่ง นับจากอดีต สู่ปัจจุบันและอนาคต นำองค์ความรู้สร้างสรรค์ผลงานก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์
สัมมนาและแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับวัฒนธรรมของกลุ่มประเทศอาเซียน บริบททางวัฒนธรรม มุ่งนำความรู้จากการสัมมนามาสนับสนุนในด้านการสร้างสรรค์ผลงาน
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม

มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
ปฏิบัติพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
ความรู้ที่ต้องได้รับ
มีความรู้ความเข้าใจ การสัมมนาและแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับวัฒนธรรมของกลุ่มประเทศอาเซียน บริบททางวัฒนธรรม และเพื่อให้นักศึกษาได้เข้าใจวัฒนธรรมอาเซียน อันเป็นรากฐานของทุกสิ่ง นับจากอดีต สู่ปัจจุบันและอนาคต นำองค์ความรู้สร้างสรรค์ผลงานตามก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์
ปฏิบัติ สัมมนา และนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ ในรูปแบบของการจัดนิทรรศการและสัมมนาเชิงปฏิบัติการผลงานให้กับผู้ที่สนใจ นอกสถานที่ เพื่อให้สาธารณะชนได้ประเมินติติง เพื่อที่จะนำข้อมูลที่ได้มาปรับและพัฒนากระบวนการเรียนการสอนของผู้สอน
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากการปฏิบัติงาน ในชั้นเรียนและการสัมมนาเชิงปฏิบัติการผลงานสร้างสรรค์ให้กับกลุ่มผู้ที่สนใจเข้าร่วมและนำเสนอผลงานนอกชั้นเรียน ต่อสาธารณะชน พร้อมทั้งให้สาธารณะชนได้ประเมินผลงานของนักศึกษาส่วนหนึ่ง
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
พัฒนาความสามารถในการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์ อย่างเป็นระบบ ต่อกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งผลงานการสัมมนาฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการผลงานสร้างสรรค์โดยเน้นแนวความคิด และปรัชญาและผลกระทบต่างๆในการอกกแบบที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ สภาพสังคมและสิ่งแวดล้อม
3.2.1 ปฏิบัติ สัมมนา และการให้นักศึกษาปฏิบัติงานเป็นรายบุคคล
3.2.2 ให้นักศึกษาปฏิบัติงานเป็นกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนแนวคิดซึ่งกันและกันและหลอมรวมเป็นหนึ่งเดียว
3.3.1 สอบกลางภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และสังเคราะห์
3.3.2 สอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และสังเคราะห์
3.3.3 วัดผลจากการประเมินชิ้นงานเป็นรายบุคคล
3.3.3 วัดผลจากการประเมินชิ้นงานเป็นกลุ่ม 1-2 คน
3.3.4 วัดผลจากการประเมินการทำงานเป็นร่วมกันกลุ่ม 2 คน
3.3.4 สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคลและการทำงานเป็นรายกลุ่ม
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 มอบหมายงานรายบุคคลและรายกลุ่ม
4.2.2 การนำเสนอผลงานเป็นรายกลุ่ม 2 คน
4.2.3 การนำเสนอผลงานเป็นกลุ่ม 2 คน
4.3.1 ประเมินผลงานรายบุคคล
4.3.2 ประเมินผลงานจากการนำเสนอผลงานการทำงานรายบุคคล
4.3.3 ประเมินผลงานการทำงานเป็นกลุ่ม 2 คน
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.4 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก หนังสือ วารสาร เอกสาร บทความ งานวิจัยที่ได้มาจากเว็บไซต์ จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากการนำเสนอผลงาน รูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีและต้นแบบผลงานสร้างสรรค์
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
พัฒนาความสามารถในการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์ อย่างเป็นระบบ ต่อกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งผลงานการสัมมนาฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการผลงานสร้างสรรค์โดยเน้นแนวความคิด และปรัชญาและผลกระทบต่างๆในการอกกแบบที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ สภาพสังคมและสิ่งแวดล้อม
ปฏิบัติ สัมมนา และการให้นักศึกษาปฏิบัติงานเป็นรายบุคคล
ให้นักศึกษาปฏิบัติงานเป็นกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนแนวคิดซึ่งกันและกันและหลอมรวมเป็น
วัดผลจากการประเมินชิ้นงานเป็นรายบุคคล
วัดผลจากการประเมินชิ้นงานเป็นกลุ่ม 1-2 คน
วัดผลจากการประเมินการทำงานเป็นร่วมกันกลุ่ม 2 คน
สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคลและการทำงานเป็นรายกลุ่ม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
1. ชุติมา ฉิมสา.การจัดสัมมนา.เอกสาร, 2535.
2. ธงชัย สันติวงษ์. การวางแผนเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ : บิรษัทโรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำกัด, 2532.
3. ดนัย เรียบสกุล.การพัฒนากระบวนการออกแบบชุดประจำชาติไทย สำหรับการนำเสนอระดับนานาชาติ .บทความวิจัย.วารสารไทยคดีศึกษา.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,2556.
4. ทวีศักดิ์ มูลสวัสดิ์.การศึกษาเพื่อพัฒนารูปแบบเครื่องประดับพลอยเนื้ออ่อนของวิสาหกิจชุมชนกาญจนบุรี เพื่อขยายโอกาสทางธุรกิจ.รายงานการวิจัยฉบับย่อ,2554.
5. รจนา ชื่นศิริกุลชัย. การสร้างนักออกแบบกลุ่มวิสาหกิจชุมชนให้มีความเป็นอัตลักษณ์ล้านนาต่อการพัฒนาแฟชั่นในระบบเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ รายงานการวิจัย.สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, 2557.
6. รจนา ชื่นศิริกุลชัย. (2558). นวัตกรรมเส้นใยไหมสีฟ้าธรรมชาติจากเมล็ดคอคอเด๊าะที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมต่อการออกแบบผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกและแฟชั่นในระบบเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์. รายงานการวิจัย.สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
7. รจนา ชื่นศิริกุลชัย. (2559). ผลิตภัณฑ์เคหะสิ่งทอสีธรรมชาติจากว่านยาอูเนะสู่ตลาดญี่ปุ่น.
รายงานการวิจัย. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
ไม่มี
เอกสาร และข้อมูลแนะนำ
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน

http://www.komchadluek.net/news/edu-health/231892 http://th.postupnews.com/2016/04/234th-year-of-rattanakosin-city-under-royal-benevolence.html http://thailand.prd.go.th/1700/ewt/aseanthai/ewt_news.php?nid=5553

http://research.rmu.ac.th/home/detail/1199
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์