ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

Sufficiency Economy to Sustainable Development

1. ให้เข้าใจการเปลี่ยนแปลงด้านสังคม เศรษฐกิจ  และการเมืองของไทย
2. ให้เข้าใจหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
3. ให้เข้าใจเกี่ยวกับหลักการทรงงานและโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9
4. ให้เข้าใจหลักธรรมาภิบาล
5. ให้เข้าใจภูมิปัญญาไทย
6. นำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในชีวิต
1. เพื่อให้ผู้่เรียนมีความรู้ ความเข้าใจหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาที่ยั่งยืน
2. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการธรรมาภิบาล หลักการทรงงานตลอดจนโครงการพระราชดำริฯ
3. เพื่อให้ผู้เรียนได้นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต
ศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปปลงทางด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ  ดครงการอันเมื่องมาจากพระราชดำริ หลักธรรมาภิบาล และการพัฒนาที่ยั่งยืน  ภูมิปัญญาไทย การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
1. อาจารย์ประจำรายวิชาแจ้งช่องทางการส่งงานที่มอบหมาย
2. อาจารย์ประจำรายวิชาให้คำปรึกษาในห้องเรียน
3. อาจารย์ประจำรายวิชาจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายกลุ่มนอกเวลาตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
 
1..1.1 พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ จริยธรรม  จรรยาวิชาชีพ  จริยธธรมตามหลักสูตร ดังนี้
          1) ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
           2) มีวินัย   ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
           3) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
           4) เคารพสิทธิ และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
           5) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
           6) สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการไม่อนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณี ตลอดจนภูมิปัญญาไทย
           7) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
 
1) บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา หรือใช้ของจริงที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน
2) อภิปรายกลุ่ม
3) ฟังสารคดีวิทยุ  ดูวีดิทัศน์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา  และให้สรุปข้ออคิดเห็น
4) กำหนดให้นักศึกษาทำโครงการหรือศึกษาของจริงที่เกี่ยวข้องกับเน้ือหา
 
1) พฤติกรรมการเข้าเรีน  การส่งงานที่มอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2) มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาประกอบการทำรายงานอย่สางถูกต้่องและเหมาะสม
3) ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4) ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
มีความรู้ในทางการเปลี่ยนแปลงทางสังคม  เศรษฐกิจ และการเมือง  ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ  หลักธรรมาภิบาลและการพััฒนาที่ยั่งยืน  ภูมิปัญญาไทย การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
บรรยาย  อภิปราย   การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน   การวิเคราะห์กรณีศึกษา  และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้่อมูลที่เกี่ยวข้องโดยนำมาสรุปและนำเสนอ  การศึกษาโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 1. ทดสอบย่อย   สอบกลางภาค   สอบปลายภาคด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการและทฤษฎี
 2. ประเมินจากการนำเสนอโครงการที่ศึกษา
 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ  มีการวิเคราะห์เพื่อการศึกษาข้อมูลที่ถูกต้่อง
3.2.1 การมอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าทำรายงาน และการนำเสนอผลงาน
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
3.3.3 วิเคราะห์กรณีศึกษา
3.1.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์แนวคิดในการศึกษาแต่ละบทเรียน
3.1.2 วัดผลจากการประเมินการค้นคว้ารายงาน   การนำเสนอผลงาน
3.1.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้่นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง  และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วน  ตามกำหนดเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคล เช่น การค้นคว้าการเปลี่ยนแปลงทางสัังคม  เศรษฐกิจ และการเมือง  เป็นต้น   การฟังสารคดีวิทยุ
        ศึกษาจากวีดิทัศน์ หรือให้ค้นคว้าจากอินเทอร์เน็ตเกี่ยวกับเนื้อหารายวิชา
4.2.3 การนำเสนอโครงการ
4.3.1 ประเมินจากความสนใจ  ความรับผิดชอบในการเรียน  การเข้าชั้นเรียน
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษากรณีศึกษา 
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณเชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงานและนำเสนอหน้าชั้น
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต และแหล่งอื่น ๆ 
5.1.5 พัฒนาแักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ  เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
 
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากแหล่งต่าง ๆ และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลขหรือมีสถติอ้างอิงจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคดนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิะีการอภิปราย
ุ6.1.1 ทักษะในการสื่อสาร  การคิด  และการฟัง
6.1.2 ทักษะในการค้นคว้าหาข้อมูลที่หลากหลายช่องทาง และจากแหล่งที่น่าเชื่อถือ
6.1.3 ทักษะในการแก้ปัญหา ตลอดจนแนวทางการดำเนินชีวิตที่ถูกต้อง
 
 
6.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ในบทเรียนที่เกี่ยวข้อง
6.2.2 ให้ศึกษา กรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนในรายวิชา
6.3.1 ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมาย  การนำเสนอโดยใช้สื่อเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม
6.3.2 ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในการอภิปราย  การแก้ปัญหา  การตอบคำถาม ตลอดจนความสามารถในการทำงานเป็นทีม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.6, 1.7, 2.1, 2.4 – 2.6, 3.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 16 10% 25% 10% 25%
2 1.1,1.6, 1.7,2.1, 2.4 – 2.6, 3.2,4.1 – 4.6,5.3-5.4 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1 – 1.7, 3.1 การเข้าชั้นเรียน ความสนใจ การตอบคำถาม การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
ทองทิพภา วิริยะพันธ์. เศรษฐกิจพอเพียง : ความพอเพียงมวลรวมในประเทศ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : จี. พี. ไซเบอร์
         พริ้นส์, 2550.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก. คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์. สาขาวิชาสังคมศาสตร์. เศรษฐกิจพอเพียง
         เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. ตาก : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก, ม.ป.ป.
วิทยาลัยการจัดการทางสังคม (วจส.) หลากหลาย พอเพียง ยั่งยืน. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยการจัดการทางสังคม (วจส.), 2549.
อุดมพร อมรธรรม. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงพระเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : แสงดาว, 2549.
 
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น
“การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง”(2556) เข้าถึงได้จาก : https://sites.google.com/site/pattamaglomnangnon/
             สืบค้น 27 พฤษภาคม 2557.
“ทฤษฎีใหม่,” (2556)เข้าถึงได้จาก : https://web.ku.ac.th/king72/2542-09/res05_02.html
             สืบค้น 4 พฤษภาคม 2557.
“พระราชดำรัสด้านเศรษฐกิจพอเพียง,” เข้าถึงได้จาก : https://sites.google.com/site/ningzaonline3/
สืบค้น 12 พฤษภาคม 2557
“หลักธรรมาภิบาล”(2556) เข้าถึงได้จาก : http://network.moph.go.th/km_ict/?p=360
             สืบค้น 25 พฤษภาคม 2557.
“หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง,”(2557) เข้าถึงได้จาก : http://www.tupr.ac.th/sufficency2.html
             สืบค้น 18 พฤษภาคม 2557.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
       1. การอภิปรายกลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
       2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
      3. ข้อเสนอแนะ
 
 
 
 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2 ผลการเรียนของนักศึกษา
3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
        ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชา   นักศึกษาเข้าใจและเกิดการเรียนรู้ตรงตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรรายวิชา
         การสอนบรรลุผลการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรรายวิชา โดยใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ