กลศาสตร์วัสดุ

Mechanics of Materials

เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจหลักการของแรงและความเค้น ความสัมพันธ์ของความเค้นและความเครียด ความเค้นในคาน แผนภาพแรงเฉือนและโมเมนต์ดัด การแอ่นของคาน การบิด การโก่งของเสา วงกลมของโมร์ ความเค้นผสม และหลักการการเสียหาย
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ          ในหลักการเบื้องต้นของวิชากลศาสตร์วัสดุ  เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาเกี่ยวกับแรงและความเค้น ความสัมพันธ์ของความเค้นและความเครียด ความเค้นในคาน แผนภาพแรงเฉือนและโมเมนต์ดัด การแอ่นของคาน การบิด การโก่งของเสา วงกลมของโมร์และความเค้นผสม หลักการการเสียหาย
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆมหาวิทยาลัยฯ
1.1.2 สามารถทางานเป็นหมู่คณะและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1.1.3 สามารถประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4 มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ
1.2.1 ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกาที่กำหนดหรือได้ตกลงกันไว้ และ ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบ โดยเริ่มตั้งแต่การเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา การทางานกลุ่มและการส่งงานตามกำหนดเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัยฯ
1.2.2 ปลูกฝังเรื่องจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ ตลอดจนผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อบุคคล สังคม และสิ่งแวดล้อม หากกระทาการโดยขาดจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
1.3.1 การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตามกำหนดระยะเวลา
1.3.2 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
1.3.3 ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.3.4 การกระทาทุจริตในการสอบ
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจในทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน และวิศวกรรม
พื้นฐาน เพื่อประยุกต์ใช้กับการศึกษาของรายวิชาทางวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญเชิงทฤษฎีในเนื้อหาของรายวิชาสถิต
ศาสตร์
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.4 สามารถวิเคราะห์ปัญหา และใช้ความรู้และทักษะที่ศึกษาเกี่ยวกับวิชาสถิตศาสตร์ในการแก้ไขปัญหาในงานจริงได้
2.2.1 บรรยายโดยเขียนบนกระดานประกอบกับการอ้างอิงในหนังสือ ใช้สื่อการสอนทางอิเล็ก
ทรอนิกส์ ตลอดจนสื่อการสอนที่เป็นชิ้นงานจริง
2.2.2 มอบหมายแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
2.3.1 การทดสอบย่อย สอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน
2.3.2 ประเมินจากแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
3.1.1 สามารถคิด วิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาเพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาทางด้านวิศวกรรม
เหมืองแร่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.2 มีจินตนาการในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือ
ต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.3 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อหาความรู้เพิ่มเติมและให้
ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้ใหม่ๆ
3.2.1 กรณีศึกษาทางการประยุกต์สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล
3.2.2 ให้นักศึกษาค้นคว้า จัดทารายงานทางเอกสารและนาเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
3.3.1 การทดสอบย่อย สอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน
3.3.2 ประเมินจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย และการนาเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
4.1.1 สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลในการสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่
เหมาะสม
4.1.2 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและสอดคล้องกับทาง
วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.3 รู้จักบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบในการทางานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงาน
กลุ่ม
4.1.4 มีจิตสานึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทางาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อ
สังคม
4.2.1 ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4.2.2 ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออก โดยการถามคาถามระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอน
และการนาเสนอรายงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้า
4.2.3 ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น เพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็นของ
ผู้อื่นด้วยเหตุผล
4.3.1 ติดตามการทางานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อมบันทึกพฤติกรรมเป็น
รายบุคคล
4.3.2 ประเมินจากการนาเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
4.3.3 ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น และการตอบคาถามระหว่างกิจกรรมการเรียน
การสอน
5.1.1 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้ อย่างเหมาะสม และ
มีประสิทธิภาพ
5.1.2 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูล เช่น การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
5.1.3 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิชา
วิศวกรรมเครื่องกลได้
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน
E- Learning
5.2.2 ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และนาเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.1 การทดสอบย่อย สอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน
5.3.2 ประเมินจากเทคนิคการนาเสนอโดยการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่
เหมาะสม
5.3.3 ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจากัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ การ
อภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนาเสนอหน้าชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5
1 ENGME105 กลศาสตร์วัสดุ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ข้อที่ 1.5, 2.1, 2.2, 2.4, 3.3 และ 5.5 1. ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 2. สอบกลางภาค 3. ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 4. สอบปลายภาค 1. ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 (ประเมินในสัปดาห์ที่ 4) 2. สอบกลางภาค (ประเมินในสัปดาห์ที่ 9) 3. ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 (ประเมินในสัปดาห์ที่ 12) 4. สอบปลายภาค (ประเมินในสัปดาห์ที่ 17) 1. ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 (10 %) 2. สอบกลางภาค (25 %) 3. ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 (10 %) 4. สอบปลายภาค (25 %)
2 ผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ข้อที่ 1.5, 2.1, 2.2, 4.3, 4.4, และ 5.3 ประเมินจากรายงานและการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นและการตอบคำถามระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอน ประเมินจากแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 ผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ข้อที่ 1.2 การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตามกำหนดระยะเวลา ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. กลศาสตร์ของแข็ง รศ.จารูญ ตันติพิศาลกุล
2. ความแข็งแรงของวัสดุ ชนะ กสิภาร์
3. Mechanics of Materials S.P. Timoshenko and Jame M. Gere
4. Mechanics of Materials A.C. Ugural
5. Strength of Materials Andrew Pytel and Ferdinand L. Singer
สื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ วิชากลศาสตร์วัสดุ
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ ดังนี้
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
- การสัมมนาเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน
- ตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้