โครงงานสิ่งทอและเครื่องประดับ

Textiles and Jewelry Project

1. กำหนดประเด็นปัญหาเพื่อนำเสนอหัวข้อโครงงานสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
2. มีทักษะในการเขียนโครงร่างของโครงงานสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
3. วางแผนการทำโครงงานสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ อย่างเป็นลำดับขั้นตอน
4. สามารถวิเคราะห์ และสังเคราะห์ ผลงานออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ ในโครงงานได้อย่างถูกต้อง
5. จัดทำและอธิบายผลงานออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
6. จัดพิมพ์รายงานและนำเสนอรายงานของโครงงานสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
7. มีทัศนคติที่ดีต่อโครงงานสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ อีกทั้งมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
เพื่อให้เนื้อหาของรายวิชามีความเหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน และเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ นอกจากนี้ยังเป็นการเตรียมความพร้อมในการบูรณาการกับรายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการเสนอหัวข้อโครงงาน การเขียนโครงงานออกแบบสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ ขั้นตอนในการทำโครงงาน การวางแผนโครงงาน การค้นคว้าหาข้อมูล การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประมวลผลโครงงาน การดำเนินโครงงานตามแผน การนำเสนอผลการดำเนินโครงงานกับกรรมการตรวจผลงานโครงงาน รวมทั้งการจัดพิมพ์เอกสารโครงงาน
- อาจารย์ผู้สอน ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
- อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาอย่างน้อย 1.5 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
- มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
- มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชัพ
- มีวินัย ขยัน อดทน ตงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
- เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 อธิบายให้เห็นความสำคัญของการวางแผนการทำงานแบบโครงงาน ความรับผิดชอบต่อโครงงานที่ได้รับมอบหมาย และชี้ให้เห็นผลดีของการปฏิบัติ พร้อมทั้งแนะนำการจัดทำโครงงานที่มีจรรญาบรรณ
1.2.2 สอดแทรกเรื่องผลดีของการรับผิดชอบต่อตนเอง และสังคม รวมถึงการปลุกจิตสำนึกในการรักษาความสะอาดห้องเรียนและบริเวณโดยรอบ
1.2.3 เชคชื่อนักศึกษาลงชื่อเมื่อเข้าชั้นเรียน ตามกำหนดเวลาของเกณฑ์ที่กำหนดไว้
1.3.1 การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาขณะอยู่ในชั้นเรียน และกล่าวชมเชยด้วยวาจา เมื่อนักศึกษาสามารถปฏิบัติได้
1.3.2 การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาขณะอยู่ในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน ที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความสะอาด
1.3.3 การตรวจสอบเวลาเรียน และการตรงเวลาของนักศึกษาในการส่งงานตามที่มอบหมาย
- มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
- สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
- สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ยกตัวอย่าง และให้นักศึกษาเรียนรู้โดยการศึกษาค้นคว้าทั้งภาคเอกสารและนอกสถานที่โดยการหาโจทย์หรือประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นผนวกกับความรู้ที่ได้ศึกษาในรายวิชาต่าง ๆ ที่ได้ศึกษามาแล้ว
2.3.1 การสอบความก้าวหน้าและการสอบป้องกัน ด้วยการนำเสนอต่อหน้าคณะกรรมการตรวจผลงาน เน้นการวัดหลักการ กระบวนการ แนวคิดและการศึกษาค้นคว้าย่อย
2.3.2 ประเมินจากการปฏิบัติงานเป็นระยะ และผลงานโครงงาน
2.3.3 ประเมินด้วยผลงานของโครงการ
- มีทักษาะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
- มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
         3.2.1  อธิบายควบคู่การปฏิบัติในลักษณะของการแก้ปัญญาทางด้านการออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
         3.2.2  ยยกตัวอย่างโจทย์หรือประเด็นทางด้านสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ แล้วให้นักศึกษาศึกษาทดลองปฏิบัติหรือทดลองแก้ปัญหา
3.3.1 การสอบความก้าวหน้าและการสอบป้องกัน ด้วยการนำเสนอต่อหน้าคณะกรรมการตรวจผลงาน ในประเด็นปัญหาต่างๆ ทางด้านสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
3.3.2 การนำเสนอผลงานต่อสาธารณชนและการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
- มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
- สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 ยกตัวอย่างแล้วให้นักศึกษาปฏิบัติงานตามหัวข้อโครงงานสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับที่ ได้รับมอบหมาย
4.2.2 ให้นักศึกษาปฏิบัติงานโครงงานโดยใช้โจทย์ ประเด็นปัญหาหรือความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น บริษัท องค์กร หรือผู้บริโภคทางด้านสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
4.3.1 การสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติโครงงาน การมีส่วนร่วม ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนนักศึกษาภายในชั้นเรียนและอาจารย์ที่ปรึกษา
4.3.2 การสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงาน และภาวะการเป็นผู้นำของนักศึกษาขณะดำเนินงาน โครงงานที่อยู่บนพื้นฐานความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น บริษัท องค์กร หรือผู้บริโภค ทางด้านสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
- สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื้อสารที่เหมาะสม
- สามารถสืบค้น วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโ,ยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
- สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 อธิบายแล้วมอบหมายงานให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยดูตัวอย่างจากเว็บไซต์ เอกสารที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพื่อฝึกเขียนเนื้อหาในโครงงาน โดยต้องมีการอ้างอิงข้อมูล และตัวเลขต่างๆ อย่างเหมาะสม
5.2.2 อธิบายและฝึกให้นักศึกษาวิเคราะห์และวิจารณ์งานออกแบบสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ ทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
5.3.1 ประเมินจากคุณภาพผลงานเนื้อหาของโครงงาน และการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.2 ประเมินจากพฤติกรรม หรือความสามารถในการนำเสนอ การวิเคราะห์ การวิจารณ์ งานออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม คุณธรรม จริยธรรม คุณธรรม จริยธรรม คุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านความรู้ ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคูรค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม เครรพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษาะในการนำความรู้มาคิดมาใช้อย่างเป็นระบบ มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื้่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโ,ยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถใช้ภาษษไทย-รือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 43041403 โครงงานสิ่งทอและเครื่องประดับ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
2 คุณธรรม จริยธรรม 1.3.1 การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาขณะอยู่ในชั้นเรียน และกล่าวชมเชยด้วยวาจา เมื่อนักศึกษาสามารถปฏิบัติได้ 1.3.2 การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาขณะอยู่ในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน ที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความสะอาด 1.3.3 การตรวจสอบเวลาเรียน และการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน สัปดาห์ที่ 1-8 และ สัปดาห์ที่ 10-16 10
2 ความรู้ 1. การสอบความก้าวหน้าและการสอบป้องกัน ด้วยการนำเสนอต่อหน้าคณะกรรมการตรวจผลงาน เน้นการวัดหลักการ กระบวนการ แนวคิดและการศึกษาค้นคว้าย่อย 2. ประเมินจากการปฏิบัติงานเป็นระยะ และผลงานโครงงาน 3. ประเมินด้วยผลงานของโครงการ สัปดาห์ ที่ 5-17 20
3 ทักษะทางปัญญา 1. การสอบความก้าวหน้าและการสอบป้องกัน ด้วยการนำเสนอต่อหน้าคณะกรรมการตรวจผลงาน ในประเด็นปัญหาต่างๆ ทางด้านสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ 2. การนำเสนอผลงานต่อสาธารณชนและการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า สัปดาห์ที่ 9, 16 และ 15 40
4 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1. การสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติโครงงาน การมีส่วนร่วม ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนนักศึกษาภายในชั้นเรียนและอาจารย์ที่ปรึกษา 2.การสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงาน และภาวะการเป็นผู้นำของนักศึกษาขณะดำเนินงาน โครงงานที่อยู่บนพื้นฐานความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น บริษัท องค์กร หรือผู้บริโภค ทางด้านสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ สัปดาห์ที่ 1-8 และ สัปดาห์ที่ 10-16 15
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ประเมินจากคุณภาพผลงานเนื้อหาของโครงงาน และการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม 2.ประเมินจากพฤติกรรม หรือความสามารถในการนำเสนอ การวิเคราะห์ การวิจารณ์ งานออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ สัปดาห์ที่ 9, 15, และ 17 15
1. ธานินทร์ ศิลป์จารุ. การวิจัยและการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2550.
2. บุญชม ศรีสะอาด.การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน์, 2535.
3. มหาวิทยาลัยนเรศวร. คู่มือการจัดทำบทนิพนธ์. นครสวรรค์ : นิวเสรีนคร. 2540
4. สุพาดา สิริกุตตา และคณะ. หลักและเทคนิคการวางแผน. กรุงเทพฯ : Diamond in Business World,
2543.
5. สุวิมล ติรกานันท์. การประเมินโครงการ : แนวทางสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2543.
6. เสถียร ศรีบุญเรือง. การวางแผนและประเมินโครงการ. เชียงใหม่ : นพบุรีการพิมพ์, 2542.
1. งานวิจัยทางด้านออกแบบสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
2. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น
1. เว็ปไซด์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทำโครงงาน
2. สื่อต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการนำเสนอผลงานออกแบบ
3. คู่มือการจดสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์
1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผลผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย
2.1 การสังเกตการณ์พฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา
2.2 การอภิปราย นำเสนอ ของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียน
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.4 การตรวจผลงานและผลการปฏิบัติงานโครงงานของนักศึกษา
3.1 ทบทวนเนื้อหา และวิธีการสอนให้สอดคล้องกับเกณฑ์กำหนด
3.2 หาแนวทาง และวิธีการสอนที่เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย
4.2 การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน
4.3 การประเมินผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานของนักศึกษาและผลงานตามที่มอบหมาย
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปี ตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 การประชุมกรรมการประจำหลักสูตรเพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา