ปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำ

Ornamental Fish and Aquatic Plants

เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้และปฏิบัติเกี่ยวกับชนิดปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำเศรษฐกิจ  เครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้เลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำ การคัดเลือกและเพาะเลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำเศรษฐกิจ อาหารปลาสวยงาม โรคปลาสวยงามและวิธีการรักษาป้องกัน แนวทางการส่งออกนำเข้าปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำเศรษฐกิจ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกิดทักษะต่างๆที่มีความเกี่ยวข้องกับธุรกิจปลาสวยงาม เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ   ในวิชาปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านการเพาะเลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำให้เกิดความทันสมัยอยู่ตลอดเวลา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับชนิดปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำเศรษฐกิจ  เครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้เลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำ การคัดเลือกและเพาะเลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำเศรษฐกิจ อาหารปลาสวยงาม โรคปลาสวยงามและวิธีการรักษาป้องกัน แนวทางการส่งออกนำเข้าปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำเศรษฐกิจ
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
-มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม -มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ - มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
-เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
   - สอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะที่สอนเนื้อหา โดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม การรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
  - กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
  - ให้งานมอบหมายและกำหนดเวลาส่งงานมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
- ร้อยละ 90 ของนักศึกษา เข้าเรียนตรงเวลา
- ร้อยละ 95 ของนักศึกษา ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด
- ไม่มีการทุจริตในการสอบ
- มีวินัยต่อการเรียน ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
- มีความรู้ ความเข้าใจในทางด้านทฤษฎีและสามารถปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
- สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของวิชาที่ศึกษา
-  ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต    เป็นต้น
- มอบหมายนักศึกษาไปค้นคว้าเพิ่มเติมและจัดทำเป็นรายงานตลอดจนนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
-  ทดสอบโดยสอบข้อเขียนในการการทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
-  การประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
          - มีทักษะทางการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ
- การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning: PBL)
          - ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา จากกรณีศึกษาตามประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้แล้ว โดยแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ภายในกลุ่มจะต้องกำหนดแนวทางไปสู่การแก้ปัญหาหรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความน่าเชื่อถือและความเป็นไปได้
          -แนะนำให้ใช้ความรู้ทางทฤษฏีเพื่อการพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงานในการเพาะเลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำตามที่ได้รับมอบหมาย
          - ฝึกให้วิเคราะห์ปัญหาจากกรณีศึกษาที่มีผู้ศึกษาไว้แล้ว โดยให้ไปค้นคว้าจากเอกสารต่าง ๆ ร่วมกับการค้นคว้าจากฐานข้อมูล
- ทดสอบโดยข้อเขียน และสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายปัญหาในชั้นเรียน
- ดูจากรายงาน การปฏิบัติดูแลรับผิดชอบงานที่รับมอบหมาย การนำเสนอรายงานและการมีส่วนร่วมในการเสนอข้อคิดเห็นในชั้นเรียน
- มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
- สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
- มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษา   ทำงานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
- ให้นักศึกษาแบ่งงานและกำหนดความรับผิดชอบของแต่ละคนในการทำงานกลุ่ม อย่างชัดเจน
- ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
- ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา
- ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานที่ทำเป็นกลุ่มหรือโครงงาน
- ให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่ม ทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและด้านความรับผิดชอบ
- สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
-สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
- มีการนำเสนองานกลุ่มต่อชั้นเรียน พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อเน้นให้นักศึกษาใช้ภาษาที่ถูกต้อง ชัดเจนและกระชับ
- กำหนดให้มีการนำเสนอในรูปแบบของ PowerPoint
- ประเมินจากผลงานที่ต้องวิเคราะห์เชิงปริมาณ
- ประเมินจากการใช้สื่อและภาษาที่ใช้ในการเขียนรายงานและการนำเสนอในชั้นเรียน
-สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง -สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ -สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา
1 23013310 ปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1, 1.1.2 และ1.1.3 -การเข้าเรียนตรงเวลา -การมีวินัยและมีความพร้อมเพียงในการร่วม -กิจกรรมเสริมหลักสูตร -ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายและการแสดงออก ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 2.1.1, 2.1.2 และ 2.1.3 -ทดสอบความเข้าใจโดยจะมีการสอบย่อย -ประเมินจากการร่วมอภิปรายในชั้นเรียน การตอบคำถาม และรายงานที่นำส่ง ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 3.1.1, 3.1.2, 4.1.1, 4.1.2, 5.1.1, 5.1.2 และ 5.1.3 -ความสามารถทำงานร่วมกันของนักศึกษาในการสืบค้นกรณีศึกษาและการมีส่วนร่วมในการอภิปรายโดยอยู่บนฐานความรู้ของรายวิชาได้อย่างเป็นระบบ ตลอดภาคการศึกษา 20%
4 6.1.1 และ6.1.2 การมีความกระตือรือร้นในการลงมือปฏิบัติการ และความเข้าใจในการเครื่องมือ และอุปกรณ์ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และคำนึงถึงความปลอดภัยระหว่างการทำงาน ตลอดภาคการศึกษา 10%
๖๐ ชนิดพรรณไม้น้ำประดับของไทย เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ .กาญจนรี พงษ์ฉวี  รัฐภัทร์ ประดิษฐ์สรรพ์ วรรณดา พิพัฒน์เจริญชัย สถาบันวิจัยสัตว์น้ำสวยงามและพรรณไม้น้ำ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์  กรุงเทพฯ 100 น.
มาตรฐานปลากัดสวยงาม ในประเทศไทย  2554 สุจินต์ หนูขวัญและอรุณี รอดลอย  สถาบันวิจัยสัตว์น้ำสวยงามและพรรณไม้น้ำ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์  กรุงเทพฯ 60 น.
ไม่มี
กมลพร ทองอุไทยและสุปราณี ชินบุตร. มปป.การป้องกันและกำจัดโรคปลากรมประมง. 30 หน้า. เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
https://home.kku.ac.th/pracha/Breeding.htm
จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาเพื่อประเมินประสิทธิภาพในรายวิชานี้ดังนี้
          - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
          - แบบประเมินผู้สอนและรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
- การสังเกตการณ์สอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา
          - ผลการสอบ
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยหารือกับอาจารย์ที่สอนวิชาอื่น ๆ ในสาขาวิชา และสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา ดังนี้        - ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี