การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

Aquaculture

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
          1. รู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
          2. รู้เกี่ยวกับฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
          3. รู้เกี่ยวกับคุณภาพน้ำในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
          4. เข้าใจการเพาะพันธุ์ การอนุบาล และการเลี้ยงสัตว์น้ำ
          5. รู้เกี่ยวกับอาหารและการให้อาหารสัตว์น้ำ
          6. รู้จักชนิดของโรคสัตว์น้ำ วิธีการป้องกันและรักษาโรคสัตว์น้ำ
          7. รู้วิธีการเก็บเกี่ยวและการลำเลียงสัตว์น้ำ
          8. รู้และเข้าใจถึงการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่สำคัญทางเศรษฐกิจ
          9. มีเจตคติที่ดีต่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
 
    ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยง  ฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ  คุณภาพน้ำในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ วิธีการเพาะพันธุ์และการอนุบาล การเลี้ยงสัตว์น้ำ  อาหารและการให้อาหารสัตว์น้ำ โรคสัตว์น้ำและการป้องกัน  การเก็บเกี่ยวและลำเลียงสัตว์น้ำการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่สำคัญทางเศรษฐกิจ


 
1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ให้นักศึกษาตระหนักและมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้มอบหมายทั้งของตนเองและงานของกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย มีวินัยต่อการเรียน โดยเข้าเรียนให้ตรงเวลาส่งงานที่มอบหมายตามเวลาที่กำหนด
-การสังเกตุ
-การเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
บรรยายในทฤษฏีที่เกี่ยวข้องและให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นพูดคุยถึงประเด็นปัญหาที่เรียนร่วมกันเปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถามข้อสงสัยในบทเรียน
-ทดสอบย่อยก่อน/หลังเรียน
-ทดสอบกลางภาค
-ทดสอบปลายภาค
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
ให้นักศึกษาฝึกคิดและแสดงความคิดเห็นในเนื้อหาที่เรียน เพื่อจะได้นำความรู้และ ประสบการณ์ต่างๆ ในเนื้อหาวิชา มาประยุกต์ใช้ปฏิบัติงานทางวิชาการ และวิชาชีพ 
-การสังเกตุ
-การซักถาม
-การแสดงความคิดเห็น
-การทดสอบ
4.1มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
สอนโดยมีกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน มีกิจกรรมทำงานเป็นกลุ่ม และมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามภาระงานที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่นได้ โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
 
-การสังเกตุ
-ผลการปฏิบัติงาน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์  สื่อการสอน E- Learning   แล้วนำเสนอข้อมูลของงานที่มอบหมายให้เข้าใจง่าย ในรูปแบบที่เหมาะสม โดยการใช้ Power point     
-การสังเกตุ
-การนำเสนองาน
-การซักถาม
6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.2สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. 2. 3. 4. 1. 2. 1. 2. 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3. 1. 2. 3.
1 23013304 การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.3 บันทึกการเข้าเรียนและการแต่งกายให้ถูกระเบียบวินัย การส่งรายงานตรงเวลา ตลอดภาคการศึกษา 5%
2 1.1.3,4.4.2 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 5%
3 2.2.1, 2.2.2 การทดสอบย่อย ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 2.2.1, 2.2.2 การสอบกลางภาค 9 30%
5 5.5.1, 5.5.3, การนำเสนองาน/การรายงาน ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 10-15 10%
6 4.4.2 งานมอบหมาย 10-1ุ5 10%
7 2.2.1, 2.2.2, การสอบปลายภาค 17 30 %
กมลพร  ทองอุไทย และสุปราณี  ชิณบุตร.มปป.  การป้องกันและกำจัดโรคปลา.  สถาบันวิจัยสุขภาพ
          สัตว์น้ำ  กรมประมงกระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ.  30 น.
เกรียงศักดิ์  เม่งอำพัน.  2543.  การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ.  มหาวิทยาลัยแม่โจ้, เชียงใหม่.  204 น.
วรวุฒิ  เกิดปราง.  2546.  หลักการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ.  ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ คณะวิทยาศาสตร์
           และเทคโนโลยีการประมง สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, ตรัง.  98 น.
สุภาพร  สุกสีเหลือง.  2538.  การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ.  ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ, กรุงเทพฯ.  291 น.
กลุ่มวิจัยและวิเคราะห์สถิติการประมง. 2557.  สถิติหน่วยธุรกิจการประมง พ.ศ. 2555. เอกสารฉบับที่              13/2557. ศูนย์สารสนเทศ กรมประมง. [สืบค้นใน]: http://www.fisheries.go.th/it-stat.                       25 เมษายน 2558.
ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งระยอง. ม.ป.ป. การเพาะเลี้ยงปลากระพงขาว. [สืบค้นใน]:                          http://www.fisheries.go.th/cf-rayong/index.php. 27 เมษายน  2558.
ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งจันทบุรี. ม.ป.ป.การเพาะเลี้ยงปลากะพงขาว. [สืบค้นใน]:                             www.fisheries.go.th/cf-phetchaburi/index.php. 27 เมษายน 2558.
ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งเพชรบุรี. 2555.  การเพาะเลี้ยงปลากะพงขาว.  [สืบค้นใน]:                        http://www.fisheries.go.th/cf-phetchaburi/index.php. 25 เมษายน  2558.
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดำริ.  2553. กลุ่มงานศึกษาและพัฒนา                    อาชีพเพาะเลี้ยงกบ.[สืบค้นใน]: http://www.hongkhrai.com. 25 เมษายน 2558.
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ.  ม.ป.ป.  มาลาไคท์กรีน.  [สืบค้นใน]:           http://www.fisheries.go.th/cf-kung_krabaen/malachite.htm. 25 เมษายน 2558.
สถานีวิจัยประมงศรีราชา. 2546. การเพาะเลี้ยงปลากะพงขาว. ฝ่ายสนับสนุนวิชาการ คณะประมง,          มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.[สืบค้นใน]: http://www.ku.ac.th/e-magazine. 25 เมษายน
         2558.
สถาบันวิจัยและเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งสงขลา.  2555.  ปลากะรังหรือปลาเก๋า.  [สืบค้นใน]:                        http://www.nicaonline.com/index. 25 เมษายน 2558.
สถาบันวิจัยสุขภาพสัตว์น้ำจืด.  2552.  โรคอียูเอส(EUS: Epizootic ulcerative syndrome). 
          สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด, กรมประมง.  [สืบค้นใน]: http://www.fisheries.go.th/if-
          khonkaen. 5 มกราคม 2558.
เว็บไซต์ ของกรมประมง
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
๑.๑  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
๑.๒  การสังเกตจากพฤติกรรมของผู้เรียน
๑.๓  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
๒.๑  การสังเกตพฤติกรรมการเรียนการสอน  การตอบสนอง  การมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
๒.๒  ผลการเรียนของนักศึกษา
๒.๓  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ ๒ จึงมีการปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
     อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาทุกภาคการศึกษา เฉพาะในรายวิชาที่มีปัญหาให้มีการทำวิจัยในชั้นเรียนมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
การตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยการตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
คณะมีระบบการทบทวนประสิทธิผลรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของสาขาการรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชาเพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรทุก ๕ ปี