คอมพิวเตอร์เพื่อการเขียนภาพแอนนิเมชั่น 2 มิติ

Computer for 2-D Drawing Animation

ด้านคุณธรรมจริยธรรม

™ 1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม ด้านการออกแบบ ™ 2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพด้านแอนิเมชัน ˜ 3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม ™ 4. เคารพสิทธิในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ของเพื่อน อาจารย์ได้อย่างเหมาะสม

 
ด้านความรู้

˜ 1. มีความรู้และเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในด้านแอนิเมชัน ˜ 2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาการออกแบบได้ ™ 3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างดี

 
ด้านทักษะทางปัญญา

™ 1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการ หรือวิชาชีพด้านแอนิเมชัน ˜ 2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ หาข้อมูล คิดวิเคราะห์  สังเคราะห์

 
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

™ 1. มีมนุษย์สัมพันธ์ สามารถปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ดีและมารยาทสังคมที่ดี ™ 2. มีภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ ™ 3. สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม ™ 4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม

 
 
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

˜ 1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม ™ 2. สามารถสืบค้น วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม ™ 3. สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ลดในส่วนของโปรแกรม Adobe After Effect และเพิ่มโปรแกรม Adobe Animate แทน
- อัพเดทความเคลื่อนไหวใหม่ๆในงานแอนิเมชั่นสองมิติ
ศึกษาประวัติความเป็นมาของการสร้างภาพการ์ตูนเคลื่อนไหว หลักการ สร้างและการออกแบบ บุคลิกของตัวละครการ์ตูนเคลื่อนไหว หลักการใช้มุมกล้องและสตอรี่บอร์ด การเคลื่อนไหว การตัดต่อ ภาพ การ์ตูนเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
3 ชั่วโมง/สัปดาห์  
1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม ด้านการออกแบบ
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพด้านแอนิเมชัน
3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4. เคารพสิทธิในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ของเพื่อน อาจารย์ได้อย่างเหมาะสม
บรรยาย
มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล รายงาน)
มอบหมายงานบุคคล (สร้างผลงาน งานในคาบเรียน การบ้าน)
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปรายสร้างผลงาน)
นำเสนอข้อมูล
ฝึกปฏิบัติ
ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / งานในคาบเรียน / การบ้าน)
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / ผลงาน)
ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / ผลงานนำเสนอ)
ประเมินจากการสอบข้อเขียน
1. มีความรู้และเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในด้านแอนิเมชัน
2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาการออกแบบได้
3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างดี
บรรยาย
มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล รายงาน)
มอบหมายงานบุคคล (สร้างผลงาน งานในคาบเรียน การบ้าน)
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปรายสร้างผลงาน)
นำเสนอข้อมูล
ฝึกปฏิบัติ
ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / งานในคาบเรียน / การบ้าน)
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / ผลงาน)
ประเมินจากการสอบข้อเขียน
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการ หรือวิชาชีพด้านแอนิเมชัน
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ หาข้อมูล คิดวิเคราะห์  สังเคราะห์
มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล รายงาน)
มอบหมายงานบุคคล (สร้างผลงาน งานในคาบเรียน การบ้าน)
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / งานในคาบเรียน / การบ้าน)
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / ผลงาน)
ประเมินจากการสอบข้อเขียน
1. มีมนุษย์สัมพันธ์ สามารถปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ดีและมารยาทสังคมที่ดี
2. มีภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล รายงาน)
มอบหมายงานบุคคล (สร้างผลงาน งานในคาบเรียน การบ้าน)
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2. สามารถสืบค้น วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3. สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล รายงาน)
มอบหมายงานบุคคล (สร้างผลงาน งานในคาบเรียน การบ้าน)
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
นำเสนอข้อมูล
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / งานในคาบเรียน / การบ้าน)
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / งาน)
ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์)
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม ด้านการออกแบบ 2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพด้านแอนิเมชัน 3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 4. เคารพสิทธิในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ของเพื่อน อาจารย์ได้อย่างเหมาะสม 1. มีความรู้และเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในด้านแอนิเมชัน 2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาการออกแบบได้ 3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างดี 1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการ หรือวิชาชีพด้านแอนิเมชัน 2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ หาข้อมูล คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ 1. มีมนุษย์สัมพันธ์ สามารถปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ดีและมารยาทสังคมที่ดี 2. มีภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2. สามารถสืบค้น วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3. สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 43012017 คอมพิวเตอร์เพื่อการเขียนภาพแอนนิเมชั่น 2 มิติ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1(3),1(4) 2(1),2(3) 4(1),4(2),4(3) การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน การสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง 1-16 5
2 1(2),1(3) 4(1) การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง 2-16 5
3 1(2),1(3) 2(1),2(3) 3(1), 3(2) 5(1), 5(2),5(3) มอบหมายงานบุคคล (สร้างผลงาน งานในคาบเรียน การบ้าน) 2-16 40
4 1(2),1(3) 5(1), 5(2),5(3) การนำเสนอ 2-16 10
5 1(3) 2(1),2(2),2(3) 3(1) 5(2), 5(3) การสอบข้อเขียน (สอบเก็บคะแนน สอบกลางภาค สอบปลายภาค สอบปฏิบัติ) 9,17 40
ธรรมศักดิ์ เอิ้อรักสกุล. (2555). การสร้าง2Dแอนิเมชัน. ปทุมธานี: มีเดีย อินเทลลิเจนซ์ เทคโนโลยี.
จรูญพร ปรปักษ์ประลัย. (2551). สะดุดโลกแอนิเมชัน. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเด็ก, สนพ.
Richard Williams. (2553). The animator’s survival kit. Ltaly : Lego S.p.A.
ธรรมศักดิ์ เอิ้อรักสกุล. (2555). การสร้าง2Dแอนิเมชัน. ปทุมธานี: มีเดีย อินเทลลิเจนซ์ เทคโนโลยี.
จรูญพร ปรปักษ์ประลัย. (2551). สะดุดโลกแอนิเมชัน. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเด็ก, สนพ.
Richard Williams. (2553). The animator’s survival kit. Ltaly : Lego S.p.A.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการผลิตภาพเคลื่อนไหว  2  มิติ   
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการวาด Character Sheet
ให้นักศึกษาประเมินเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในประเด็นต่อไปนี้
1.1     ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนในประเด็นต่อไปนี้

ความตรงต่อเวลา การแต่งกาย บุคลิกภาพ คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้ แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน

1.2     ให้นักศึกษาประเมินภาพรวมของรายวิชาในประเด็นต่อไปนี้

ความรู้ความสามารถโดยรวม และประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนรายวิชานี้ ความพึงพอใจต่อการเรียนรายวิชานี้ ข้อเสนอแนะอื่นๆ
ให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหรืออาจารย์ที่ได้รับมอบหมาย ดำเนินการดังต่อไปนี้
2.1     ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนและภาพรวมของรายวิชาตาม ข้อ ๑
2.2     สุ่มสังเกตการสอนและประเมินการจัดการเรียนการสอน(โดยเพื่อนอาจารย์) ในประเด็นต่อไปนี้

ความตรงต่อเวลา การแต่งกาย บุคลิกภาพ คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน ความรู้ความสามารถทางวิชาการในหัวข้อที่สอน ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้ แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน

2.3     ให้อาจารย์ผู้สอนประเมินตนเองในประเด็นต่อไปนี้

ความเหมาะสมของเวลาที่ใช้ในการเตรียมสอน ความพึงพอใจของผู้สอนต่อผลการสอน ข้อที่ควรปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาตนเองในการสอนครั้งต่อไป
สาขาวิชาออกแบบสื่อสาร มีกลไกและวิธีการปรับปรุงการเรียนการสอนดังนี้
3.1     ให้อาจารย์ผู้สอนแต่ละหัวข้อบันทึกเหตุการณ์ระหว่างการสอนที่สมควรนำเสนอให้พิจารณา
       รวมทั้งสิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไขในแต่ละคาบการสอน
3.2     ประชุม/สัมมนาอาจารย์ผู้สอนเพื่อพิจารณาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนสำหรับปีการ
          ศึกษาต่อไปโดยอาศัยข้อมูลดังต่อไปนี้

ผลการศึกษาของนักศึกษา ผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา ผลการประเมินการสอน บันทึกของกลุ่มอาจารย์ผู้สอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากได้ จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษารวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือผู้ทรง คุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
เมื่อสิ้นสุดทุกปีการศึกษา อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจะจัดประชุม / ติดต่อขอความคิดเห็นจาก อาจารย์ที่ร่วมสอน รวมทั้งพิจารณาสรุปผลการประเมินการสอน ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา เพื่อกำหนดประเด็น ที่เห็นสมควรจัดให้มีการปรับปรุงในการศึกษาต่อไป ทั้งเนื้อหา ลำดับการสอน วิธีการสอนและการประเมินผล