พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

Fundamental of Computer Programming

1.  จุดมุ่งหมายของรายวิชา รายวิชานี้มีจุดประสงค์เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถดังนี้ (นำเสนอโดยเทียบเทียงกับผลการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ในหลักสูตร และสัญลักษณ์ที่ใช้มีความหมายดังนี้ ˜ หมายถึง ความรับผิดชอบหลัก / สัญลักษณ์ ™ หมายถึง ความรับผิดชอบรอง)
ด้านคุณธรรมจริยธรรม

™ มีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าด้านคุณธรรม จริยธรรมที่พึงมีต่อสังคมส่วนรวม อาทิ มีจิตอาสา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และเคารพกฏกติกาของสังคม ˜ มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพออกแบบสื่อสาร ไม่คัดลอกผลงานของบุคคลอื่นมาเป็นของตน ˜ ซื่อสัตย์ ขยันหมั่นเพียร มีความรับผิดชอบ อดทน และตรงต่อเวลา ™ เคารพสิทธิ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ไม่ดูถูกเหยียดหยาม หรือพูดจาว่าร้ายผู้อื่น

 
ด้านความรู้

˜ มีความรู้ ความเข้าใจ ทั้งด้านทฤษฎี และหลักการปฏิบัติ เกี่ยวกับพื้นฐานการเขียนโปรแกรมด้วยคอมพิวเตอร์ ™ สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของการเขียนโปรแกรมด้วยคอมพิวเตอร์ ˜ สามารถบูรณาการความรู้ในศาสตร์ของการเขียนโปรแกรมด้วยคอมพิวเตอร์ กับความรู้ในศาสตร์สาขาอื่น

 
ด้านทักษะทางปัญญา

˜ มีทักษะการปฏิบัติงานจากการวิเคราะห์ ประยุกต์ความรู้ในการเขียนโปรแกรมด้วยคอมพิวเตอร์ ™ มีทักษะในการนำความรู้มาใช้ในการสร้างสรรค์งานเขียนโปรแกรมด้วยคอมพิวเตอร์ ได้อย่างเป็นระบบ ™ สามารถวางแผนปฏิบัติงาน และกำหนดกรอบแนวคิดในการทำงาน ตามสภาพปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ

 
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

˜ มีมนุษยสัมพันธ์ และมารยาททางสังคมที่ดี สามารถปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ™ สามารถแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำ และทำงานร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในฐานะผู้นำหรือ   
 สมาชิกของกลุ่ม ˜ สามารถทำงานเป็นทีม วิเคราะห์ปัญหา และแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ™ สามารถใช้ความรู้ด้านการเขียนโปรแกรมด้วยคอมพิวเตอร์ มาช่วยสร้างสรรค์สังคม

ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

˜ รู้หลักการสื่อสาร และสามารถเลือกใช้เครื่องมือในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม ™ สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา ค้นคว้าวิจัย ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม ™ สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศ หรือภาษาอื่นๆ ที่สามารถเข้าใจในการสื่อสารกับบุคคลอื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผู้สอนจำเป็นต้องทำการทบทวนเนื้อหาของบทเรียนอยู่สม่ำเสมอ โดยในต้นชั่วโมง จะทำการซักถาม เรียกตอบคำถามเป็นรายบุคคล หรือเพิ่มการสอบย่อยให้มากขึ้น เพื่อเป็นการกระตุ้นให้นักศึกษากลับไปทบทวนบทเรียนอย่างสม่ำเสมอและบูรณาการงานด้านการเขียนโปรแกรม ร่วมกับสื่ออื่นๆ พร้อมทั้งฝึกฝนการวางแนวความคิดในการออกแบบ Website ให้กับนักศึกษามากขึ้น
ศึกษา และฝึกปฎิบัติเกี่ยวกับหลักการเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์  การเขียนโค้ดที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบมัลติมีเดีย  ขั้นตอนการกำหนด และคุณสมบัติของโปรแกรมการออกแบบ การโค้ด การคอมไพล์ ตลอดจนการทดสอบใช้งาน
อาจารย์ประจำรายวิชาให้คำปรึกษาและข้อคิดเห็นเกี่ยวกับงานเขียนของนักศึกษาผ่านทางเว็บไซต์และเครือข่ายสังคมออนไลน์ อาจารย์ประจำรายวิชาให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการและนัดหมายล่วงหน้า)
1.มีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าด้านคุณธรรม จริยธรรมที่พึงมีต่อสังคมส่วนรวม อาทิ มีจิตอาสา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และเคารพกฏกติกาของสังคม
2.มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพออกแบบสื่อสาร ไม่คัดลอกผลงานของบุคคลอื่นมาเป็นของตน
3.ซื่อสัตย์ ขยันหมั่นเพียร มีความรับผิดชอบ อดทน และตรงต่อเวลา
4.เคารพสิทธิ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ไม่ดูถูกเหยียดหยาม ล้อเลียน หรือพูดจาว่าร้ายผู้อื่น
บรรยาย
มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล ตอบคำถาม แบบทดสอบ)
มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน)
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน)
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน)
ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ)
ประเมินจากการสอบปฏิบัติ
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
1.มีความรู้ ความเข้าใจ ทั้งด้านทฤษฎี และหลักการปฏิบัติ เกี่ยวกับพื้นฐานการเขียนโปรแกรมด้วยคอมพิวเตอร์
2.สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของการการเขียนโปรแกรมด้วยคอมพิวเตอร์
3.สามารถบูรณาการความรู้ในศาสตร์ของการการเขียนโปรแกรมด้วยคอมพิวเตอร์ กับความรู้ในศาสตร์สาขาอื่น
บรรยาย
มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล ตอบคำถาม แบบทดสอบ)
มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน)
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
ฝึกปฏิบัติ
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน)
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน)
ประเมินจากการสอบข้อเขียน
ประเมินจากการสอบปฏิบัติ
1.มีทักษะการปฏิบัติงานจากการวิเคราะห์ ประยุกต์ความรู้ในการเขียนโปรแกรมด้วยคอมพิวเตอร์
2.มีทักษะในการนำความรู้มาใช้ในการสร้างสรรค์งานเขียนโปรแกรมด้วยคอมพิวเตอร์ ได้อย่างเป็นระบบ
3.สามารถวางแผนปฏิบัติงาน และกำหนดกรอบแนวคิดในการทำงานตามสภาพปัญหา อย่างมีประสิทธิภาพ
บรรยาย
มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล ตอบคำถาม แบบทดสอบ)
มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน)
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
ฝึกปฏิบัติ
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน)
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน)
ประเมินจากการสอบข้อเขียน
ประเมินจากการสอบปฏิบัติ
1.มีมนุษยสัมพันธ์ และมารยาททางสังคมที่ดี สามารถปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
2.สามารถแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำ และทำงานร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในฐานะผู้นำหรือ    สมาชิกของกลุ่ม
3.สามารถทำงานเป็นทีม วิเคราะห์ปัญหา และแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
4.สามารถใช้ความรู้ด้านการออกแบบแอพพลิเคชั่น มาช่วยสร้างสรรค์สังคม
มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน)
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน)
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
1.รู้หลักการสื่อสาร และสามารถเลือกใช้เครื่องมือในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
2.สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา ค้นคว้าวิจัย ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
3.สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศ หรือภาษาอื่นๆ ที่สามารถเข้าใจในการสื่อสารกับบุคคลอื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล ตอบคำถาม แบบทดสอบ)
มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน)
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
นำเสนอข้อมูล
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน)
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน)
ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ)
ประเมินจากการสอบปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 มีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าด้านคุณธรรม จริยธรรมที่พึงมีต่อสังคมส่วนรวม อาทิ มีจิตอาสา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และเคารพกฏกติกาของสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพออกแบบสื่อสาร ไม่คัดลอกผลงานของบุคคลอื่นมาเป็นของตน 3.ซื่อสัตย์ ขยันหมั่นเพียร มีความรับผิดชอบ อดทน และตรงต่อเวลา 4.เคารพสิทธิ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ไม่ดูถูกเหยียดหยาม หรือพูดจาว่าร้ายผู้อื่น 1) มีความรู้ ความเข้าใจ ทั้งด้านทฤษฎี และหลักการปฏิบัติ เกี่ยวกับพื้นฐานการเขียนโปรแกรมด้วยคอมพิวเตอร์ 2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของการเขียนโปรแกรมด้วยคอมพิวเตอร์ 3) สามารถบูรณาการความรู้ในศาสตร์ของการเขียนโปรแกรมด้วยคอมพิวเตอร์ กับความรู้ในศาสตร์สาขาอื่น 1) มีทักษะการปฏิบัติงานจากการวิเคราะห์ ประยุกต์ความรู้ในการเขียนโปรแกรมด้วยคอมพิวเตอร์ 2) มีทักษะในการนำความรู้มาใช้ในการสร้างสรรค์งานเขียนโปรแกรมด้วยคอมพิวเตอร์ ได้อย่างเป็นระบบ 3) สามารถวางแผนปฏิบัติงาน และกำหนดกรอบแนวคิดในการทำงาน ตามสภาพปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ 1) มีมนุษยสัมพันธ์ และมารยาททางสังคมที่ดี สามารถปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี 2) สามารถแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำ และทำงานร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในฐานะผู้นำหรือ สมาชิกของกลุ่ม 3) สามารถทำงานเป็นทีม วิเคราะห์ปัญหา และแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม 4) สามารถใช้ความรู้ด้านการเขียนโปรแกรมด้วยคอมพิวเตอร์ มาช่วยสร้างสรรค์สังคม 1) รู้หลักการสื่อสาร และสามารถเลือกใช้เครื่องมือในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม 2) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา ค้นคว้าวิจัย ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม 3) สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศ หรือภาษาอื่นๆ ที่สามารถเข้าใจในการสื่อสารกับบุคคลอื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 43012307 พื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1(2),1(3),1(4) 4(1) การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน การสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง 1-16 10
2 1(2),1(3) 2(1)-2(3) 3(1)-3(3) 5(2),5(3) ผลงานรายบุคคล การนำเสนอ (แบบฝึกหัด โครงงาน) 1-16 40
3 1(1),1(2),1(3) 2(1),2(3) 3(1)-3(3) 4(1)-4(4) 5(2),5(3) ผลงานกลุ่ม (โครงงาน) 1-16 20
4 1(2) 2(1) 3(1)-3(3) 5(1),5(2) การสอบข้อเขียน (สอบเก็บคะแนน สอบกลางภาค สอบปลายภาค) 9,18 30
HTML5 Tutorial
http://www.w3schools.com/html/default.asp
CSS Tutorial
http://www.w3schools.com/css/default.asp
https://unity3d-thailand.blogspot.com/
http://mhtml5.blogspot.com/2014/01/1-html5.html
http://www.softmelt.com/article.php?&cateID=20
1.1     ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนในประเด็นต่อไปนี้

ความตรงต่อเวลา การแต่งกาย บุคลิกภาพ คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้ แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน

1.2     ให้นักศึกษาประเมินภาพรวมของรายวิชาในประเด็นต่อไปนี้

ความรู้ความสามารถโดยรวม และประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนรายวิชานี้ ความพึงพอใจต่อการเรียนรายวิชานี้ ข้อเสนอแนะอื่นๆ
2.1     ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนและภาพรวมของรายวิชาตาม ข้อ 1
2.2     สุ่มสังเกตการสอนและประเมินการจัดการเรียนการสอน(โดยเพื่อนอาจารย์) ในประเด็นต่อไปนี้

ความตรงต่อเวลา การแต่งกาย บุคลิกภาพ คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน ความรู้ความสามารถทางวิชาการในหัวข้อที่สอน ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้ แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน

2.3     ให้อาจารย์ผู้สอนประเมินตนเองในประเด็นต่อไปนี้

ความเหมาะสมของเวลาที่ใช้ในการเตรียมสอน ความพึงพอใจของผู้สอนต่อผลการสอน ข้อที่ควรปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาตนเองในการสอนครั้งต่อไป
สาขาวิชออกแบบสื่อสาร มีกลไกและวิธีการปรับปรุงการเรียนการสอนดังนี้
3.1     ให้อาจารย์ผู้สอนแต่ละหัวข้อบันทึกเหตุการณ์ระหว่างการสอนที่สมควรนำเสนอให้พิจารณารวมทั้งสิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไขในแต่ละคาบการสอน
3.2     ประชุม / สัมมนาอาจารย์ผู้สอนเพื่อพิจารณาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนสำหรับปีการศึกษาต่อไปโดยอาศัยข้อมูลดังต่อไปนี้

ผลการศึกษาของนักศึกษา ผลการประเมินประสิทธผลของรายวิชาโดยนักศึกษา ผลการประเมินการสอน บันทึกของกลุ่มอาจารย์ผู้สอน
สาขาวิชาออกแบบสื่อสาร มีกระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ดังนี้

การสุ่มสัมภาษณ์โดยคณะกรรมการทวนสอบระดับหลักสูตร การประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิภายใน/ภายนอก
เมื่อสิ้นสุดทุกปีการศึกษา อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจะจัดประชุม / ติดต่อขอความคิดเห็นจากอาจารย์ที่ร่วมสอน รวมทั้งพิจารณาสรุปผลการประเมินการสอน ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา  เพื่อกำหนดประเด็นที่เห็นสมควรจัดให้มีการปรับปรุงในการศึกษาต่อไป ทั้งเนื้อหา ลำดับการสอน วิธีการสอนและการประเมินผล