การนำเสนองานออกแบบสื่อสาร

Communication Design Presentation

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักและวิธีการในการนำเสนองานออกแบบ สื่อสาร ความหมายการนำเสนองาน วัตถุประสงค์การนำเสนองาน องค์ประกอบการนำเสนองาน เนื้อหาการนำเสนองาน เทคนิคและการใช้สื่อในการนำเสนองาน การจัดเก็บรวบรวมผลงานเพื่อ นำเสนองาน
มีการปรับปรุงระยะเวลาในการทำงานด้านเวิร์คชอปของนักศึกษาขึ้นมาใหม่ เพื่อให้นักศึกษา ได้มีเวลาในการทำงานและเตรียมงานให้มากขึ้นกว่าเดิม ซึ่งเนื้อหาจะถูกจำกัดขอบเขตมากขึ้น โดยให้ นักศึกษาสามารถนำเสนอและโปรโมทหลักสูตรออกแบบสื่อสารได้ โดยจะให้นักศึกษาชั้นปีอื่นๆมีส่วน ร่วมในการเข้าร่วมกิจกรรม
ศึกษาหลักและวิธีการในการนำเสนองานทางด้านออกแบบสื่อสาร ตลอดจนหลักและวิธีการ ใช้เครื่องมือโสตทัศนูปกรณ์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการถ่ายทอดความคิดหรือข้อมูล รวมทั้งรูปแบบ ของการสื่อความหมายให้ผู้รับเข้าใจ
อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฎิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ  มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม  เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม  มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฎิบัติงาน
1.2.1 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานที่ได้รับมอบหมายภายในเวลาที่กำหนด
           1.2.2 บรรยายพร้อมสื่อคอมพิวเตอร์ประกอบ  
           1.2.3 บรรยายพร้อมการศึกษาดูงานนอกสถานที่
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายด้วยแบบประเมินงานปฏิบัติ
1.3.3 ประเมินผลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยแบบทดสอบกลางภาคและปลายภาค
มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องราวของหลักและวิธีการในการนำเสนองานทางด้านออกแบบสื่อสาร  ตลอดจนหลักและวิธีการใช้เครื่องมือโสตทัศนูปกรณ์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการถ่ายทอดความคิดหรือข้อมูล รวมทั้งรูปแบบของการสื่อความหมายให้ผู้รับเข้าใจ
2.2.1 บรรยายพร้อมสื่อคอมพิวเตอร์ประกอบ
     2.2.2 บรรยายพร้อมการศึกษาดูงานนอกสถานที่
     2.2.3 มอบหมายงานปฏิบัติเรื่องการพูดเพื่อให้เกิดทักษะในการพูดนำเสนอผลงาน
     2.2.4 มอบหมายงานปฏิบัติเรื่องการสร้างสื่อการนำเสนอเพื่อให้เกิดทักษะใน การสร้างสื่อ
2.3.1 ประเมินจากผลงานปฏิบัติการสร้างสื่อการนำเสนอที่ได้รับมอบหมาย
2.3.2 ประเมินจากผลงานปฏิบัติการพูดนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
2.3.3 ประเมินจากผลงานปฏิบัติการการายงานผลการศึกษาดูงานนอกสถานที่
           2.3.4 สอบกลางภาค และสอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดความรู้ความเข้าใจและเจตคติ
3.1.1 มีการพัฒนาด้านความรู้และความเข้าใจและเจตคติ
           3.1.2 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางทฤษฎี ไปสู่ความเข้าใจ เพื่อการสร้างสรรค์งานให้    เกิดความงามทางสุนทรียศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการนำเสนอผลงาน
3.2.1 บรรยายพร้อมตั้งคำถามเพื่อสอบถามความคิดเห็น
  3.2.2 มอบหมายงานที่ส่งเสริมความจำ ความรู้ และความเข้าใจ จากการบรรยาย และการศึกษาดูงานนอกสถานที่
   3.2.3 สังเกตพฤติกรรมจากการศึกษาดูงาน
   3.2.4 สังเกตพฤติกรรมจากการปฏิบัติการพูดหน้าชั้นเรียน
      3.2.5 สังเกตพฤติกรรมจากการปฏิบัติงานร่วมกลุ่มในชั้นเรียน
3.3.1 สอบเก็บคะแนนด้วยแบบประเมินการพูด
3.3.2 สอบกลางภาค และสอบปลายภาค ด้วยข้อสอบแบบเลือกตอบ 5 ตัวเลือก ข้อสอบแบบเติมคำและข้อสอบแบบอธิบาย
           3.3.3 งานที่ได้รับมอบหมาย
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน
4.1.2 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.3 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองและมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วน ตาม กำหนดเวลา
4.2.1 ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
     4.2.2 ให้ความสำคัญในการแบ่งเวลาในการเรียนและการทำกิจกรรมอย่างเหมาะสม
4.3.1 การเข้าห้องเรียน ตลอดภาคการศึกษา 16 สัปดาห์  และพิจารณาจากการ
เข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
4.3.2 ประเมินผลจากแบบประเมินตนเอง  ประเมินสถานที่ดูงาน และกิจกรรมกลุ่ม
           4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง  การเขียน
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินผลสัมฤทธิ์ระหว่างเรียนด้วยแบบประเมินการพูดนำเสนอเก็บคะแนน ระหว่างเรียน 2 ครั้ง 10 %
5.3.2 ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยแบบทดสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 30%   
5.3.3 ประเมินผลงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ ด้วยการเขียนรายงาน 10 %
5.3.4 ประเมินผลการทำงานปฏิบัติด้วยคะแนน 40 %
5.3.5 ประเมินผลจิตพิสัย 10 %
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฎิบัติงาน มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย และตรงต่อเวลา และความขยันหมั่นเพียร มีความรู้และเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติ สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาการออกแบบได้ สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างดี มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการ หรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ หาข้อมูล คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ มีมนุษย์สัมพันธ์ สามารถปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ดีและมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 43010411 การนำเสนองานออกแบบสื่อสาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9,18 30
2 2.1-2.3 4.1 – 4.3 4.1-4.3 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ การทำงานและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 60
3 1.1 – 1.3 3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
เทคโนโลยีและสื่อสารการสอน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
           การวิจัยและทฤษฎีทางเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
           การพูด จตุพล  ชมพูนิช
           การนำเสนองาน      
           จิตวิทยาการนำเสนอ
             การนำเสนองานด้วยการใช้ภาษาพูด  
           ศิลป์และศาสตร์ของการสร้างงานนำเสนอชั้นยอด
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา Basic Drafting
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่ได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 ผลงานจากการปฏิบัติของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบ ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐาน ผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ ความรู้นี้กับปัญหาที่มา จากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ