เขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์
Computer Drawing Practices
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการเขียนแบบชิ้นส่วน
เครื่องจักรกล 2 มิติ การกำหนดขนาด การเขียนภาพ 3 มิติ การใช้คำสั่งต่างๆ ใน
การแก้ไขแบบ การเขียนภาพประกอบ ภาพแยกชิ้น การเขียนชิ้นส่วนมาตรฐาน
การเขียนแบบสั่งงาน การเขียนตารางรายการแบบ การเขียนตัวอักษร การระบุพิกัด
ความเผื่อ พิกัดงานสวม สัญลักษณ์ผิวงาน สัญลักษณ์งานเชื่อม สัญลักษณ์ GD&T และ
การพิมพ์งานหรือพล็อตงาน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ และทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
ทางด้านวิศวกรรมการเขียนแบบ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปแก้ปัญหาและประยุกต์กับวิชาชีพและเทคโนโลยี
ใหม่ในด้านเขียนแบบได้
ทางด้านวิศวกรรมการเขียนแบบ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปแก้ปัญหาและประยุกต์กับวิชาชีพและเทคโนโลยี
ใหม่ในด้านเขียนแบบได้
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการเขียนแบบชิ้นส่วน
เครื่องจักรกล 2 มิติ การกำหนดขนาด การเขียนภาพ 3 มิติ การใช้คำสั่งต่างๆ ใน
การแก้ไขแบบ การเขียนภาพประกอบ ภาพแยกชิ้น การเขียนชิ้นส่วนมาตรฐาน
การเขียนแบบสั่งงาน การเขียนตารางรายการแบบ การเขียนตัวอักษร การระบุพิกัด
ความเผื่อ พิกัดงานสวม สัญลักษณ์ผิวงาน สัญลักษณ์งานเชื่อม สัญลักษณ์ GD&T และ
การพิมพ์งานหรือพล็อตงาน
- อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษาในชั่วโมงว่างของการเรียน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
(เฉพาะรายที่ต้องการ)
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
(เฉพาะรายที่ต้องการ)
นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างราบรื่น
และประพฤติตนโดยคำนึงถึงประโยชน์ของส่วนรวม อาจารย์ที่สอนในแต่ละรายวิชา ต้องส่งเสริมให้
นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการต่าง ๆ ดังนี้
(1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
(2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
(3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม
และสิ่งแวดล้อม
(4) เคารพในคุณค่าและศักดี้ศรีของความเป็นมนุษย์
นอกจากนั้น ยังมีรายวิชาส่งเสริมสนับสบุนให้นักศึกษามีการพัฒนาจริยธรรมและจรรยาวิชาชีพ เซ่น
วิชาการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม วิชาภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพ ซี่งอาจารย์ผู้สอนสามารถสอดแทรก
เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับจรรยาวิชาชีพ และสามารถจัดให้มีการวัดผลแบบมาตรฐานในด้านคุณธรรม จริยธรรมทุกภาคการศึกษา ด้วยการสังเกตพฤติกรรมระหว่างการทำกิจกรรม และมีการกำหนดคะแนนในเรื่อง
คุณธรรม จริยธรรมให้เป็นส่วนหนี่งของคะแนนจิตพิสัยในชั้นเรียน นักศึกษาที่คะแนนความประพฤติไม,ผ่าน
เกณฑ์อาจต้องทำกิจกรรมเพื่อสังคมเพิ่มก่อนจบการศึกษา
2) กลยุทธ์การสอนที่ใซ้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียน
ให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ นอกจากนี้ ผู้สอนต้องสอดแทรก
และส่งเสริมต้านคุณธรรม จริยธรรมในทุกรายวิชา และส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ สนับสนุน้ให้
นักศึกษาเข้าร่วมในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพแก,สังคม ปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ยกย่องและเชิดชูนักศึกษาที่ทำความดีและเสียสละ
3) กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาและการปฏิบัติตนในต้านต่าง ๆ ได้แก่
(1) การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด
ระยะเวลา ที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
(2) ความมีวินัยและความใส,ใจของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริม
หลักสูตร
(3) ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ไต้รับมอบหมาย
(4) ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ไต้รับมอบหมายและการสอบ
๒.๒.๑ บรรยายหลักการ ทฤษฎี ตามคำอธิบายรายวิชา อภิปรายระหว่างอาจารย์และ
นักศึกษา
๒.๒.๒ ยกตัวอย่างการประยุกต์การเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น
๒.๒.๓ มอบหมายงานตามใบปฏิบัติงาน
๒.๒.๔สรุปเนื้อหาบทเรียนร่วมกับนักศึกษา
นักศึกษา
๒.๒.๒ ยกตัวอย่างการประยุกต์การเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น
๒.๒.๓ มอบหมายงานตามใบปฏิบัติงาน
๒.๒.๔สรุปเนื้อหาบทเรียนร่วมกับนักศึกษา
๒.๓.๑ งานที่มอบหมาย สอบกลางภาค และสอบปลายภาคด้วยข้อสอบ
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล | ไม่มีข้อมูล |
---|