สื่อศิลปะ 5
Media Art 5
1. รู้ความเป็นมาของสื่อศิลปะ
2. เข้าใจแนวคิดและรูปแบบของงานสื่อศิลปะ
3. มีทักษะในการนำสื่อศิลปะสมัยใหม่มาสร้างสรรค์งานทางทัศนศิลป์เฉพาะตน
4. มีทัศนคติที่ดีต่องานสื่อศิลปะสมัยใหม่
2. เข้าใจแนวคิดและรูปแบบของงานสื่อศิลปะ
3. มีทักษะในการนำสื่อศิลปะสมัยใหม่มาสร้างสรรค์งานทางทัศนศิลป์เฉพาะตน
4. มีทัศนคติที่ดีต่องานสื่อศิลปะสมัยใหม่
1. เพื่อให้การเรียนการสอนทันต่อยุคสมัยที่มีความเปลี่ยนแปลง
2. พัฒนาศักยภาพของอาจารย์และนักศึกษาให้ก้าวทันโลกเทคโนโลยีที่ก้าวไกล
3. ประยุกต์และปรับใช้ให้เหมาะสมต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน
4. รู้และเท่าทันความรู้ทั้งทางด้านความเป็นมาและอนาคตที่กำลังจะเกิดขึ้นต่อไป
5. ทำให้ข้อมูลความรู้มีความเหมาะสมที่สามารถนำไปใช้ในปีการศึกษาใหม่ได้และเข้าถึงต่อความต้องการของผู้เรียนมากขึ้น
2. พัฒนาศักยภาพของอาจารย์และนักศึกษาให้ก้าวทันโลกเทคโนโลยีที่ก้าวไกล
3. ประยุกต์และปรับใช้ให้เหมาะสมต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน
4. รู้และเท่าทันความรู้ทั้งทางด้านความเป็นมาและอนาคตที่กำลังจะเกิดขึ้นต่อไป
5. ทำให้ข้อมูลความรู้มีความเหมาะสมที่สามารถนำไปใช้ในปีการศึกษาใหม่ได้และเข้าถึงต่อความต้องการของผู้เรียนมากขึ้น
ศึกษาและฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนารูปแบบและแนวความคิด สามารถนำสื่อศิลปะต่างๆ มาวิเคราะห์และประยุกต์ใช้ กับโครงงานที่นักศึกษากำหนดขึ้น สามารถสร้างสรรค์ผลงานที่มีคุณค่าทางศิลปะและมีลักษณะเฉพาะตน
- อาจารย์ผู้สอนจะให้คําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน จํานวน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกําหนดเวลาล่วงหน้า
- อาจารย์ผู้สอนสามารถให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกจากที่มีการนัดหมายแล้วยังสามารถคุยผ่านสื่อสังคมออนไลน์ต่างๆเพื่อให้ทันต่อช่วงวัยของนักศึกษาผ่าน Application on Mobile or On Pc (Personal Computer) เช่น Facebook, Line, Instagram, Messenger etc. ซึ่งการสื่อสารออนไลน์ผ่านสิ่งเหล่านี้ช่วยให้นักศึกษาได้รับข้อมูลทางวิชาการที่รวดเร็วขึ้นและบางครั้งช่วยให้การติดต่อประสานงานกระชับหรือย่นระยะเวลาที่ติดขัดอื่นๆได้เป็นอย่างดี โดยในกรณีนี้จึงนับว่าจำนวนชั่วโมงประมาณ 4 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ผู้สอนสามารถให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
- อาจารย์ผู้สอนสามารถให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกจากที่มีการนัดหมายแล้วยังสามารถคุยผ่านสื่อสังคมออนไลน์ต่างๆเพื่อให้ทันต่อช่วงวัยของนักศึกษาผ่าน Application on Mobile or On Pc (Personal Computer) เช่น Facebook, Line, Instagram, Messenger etc. ซึ่งการสื่อสารออนไลน์ผ่านสิ่งเหล่านี้ช่วยให้นักศึกษาได้รับข้อมูลทางวิชาการที่รวดเร็วขึ้นและบางครั้งช่วยให้การติดต่อประสานงานกระชับหรือย่นระยะเวลาที่ติดขัดอื่นๆได้เป็นอย่างดี โดยในกรณีนี้จึงนับว่าจำนวนชั่วโมงประมาณ 4 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ผู้สอนสามารถให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
ข้อ 1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมและจริยธรรม
ข้อ 2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
ข้อ 3 มีวินัย ขยันอดทนตรงต่อเวลาและรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม
ข้อ 4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- กำหนดให้มีการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ สอดแทรกและส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ยกย่องและเชิดชูนักศึกษาที่ทำความดีและเสียสละ
- ให้ข้อมูลบุคคลตัวอย่างเช่น ศิษย์เก่า อาจารย์ดีเด่น หรือบุคคลที่น่ายกย่องในวงการสายศิลปะที่ทำให้นักศึกษามองเห็นประโยชน์ของการมีคุณธรรม จริยธรรมทางสังคม
- นำสื่อข้อมูลเกี่ยวกับจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ เช่น ลิขสิทธิ์ทางปัญญา บทลงโทษต่างๆของผู้ลักลอบนำผลงานของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็นของตน (ในกรณีทางศิลปะการนำข้อมูลต่างๆมาอ้างอิงหรือมาสร้างสรรค์เป็นผลงานศิลปะของตัวเองโดยอ้างถึงแรงบันดาลใจ ผู้เรียนจะต้องทราบถึงการรู้จักการให้เครดิต (Credit) หรือการทบทวนวรรณกรรม (Literature review) หรือการอ้างอิง (Reference) และการใช้บรรณานุกรม (Bibliography) ที่ถูกต้องตามหลักทางวิชาการและวิชาชีพ
- ให้คำสั่งหรือคำเตือน การปฏิบัติตนให้เป็นสุภาพชนคำนึงถึงเกียรติและศักดิ์ศรีของผู้อื่นในการเรียนร่วมชั้นเรียนกับเพื่อนร่วมชั้น และการกระทำเมื่อต้องอยู่ร่วมสังคมกับผู้อื่นโดยเฉพาะในช่วงระยะเวลาของการเรียนการสอนซึ่งต้องมีการเผยแพร่ผลงานของตนเองสู่สาธารณะชน
- ให้ข้อมูลบุคคลตัวอย่างเช่น ศิษย์เก่า อาจารย์ดีเด่น หรือบุคคลที่น่ายกย่องในวงการสายศิลปะที่ทำให้นักศึกษามองเห็นประโยชน์ของการมีคุณธรรม จริยธรรมทางสังคม
- นำสื่อข้อมูลเกี่ยวกับจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ เช่น ลิขสิทธิ์ทางปัญญา บทลงโทษต่างๆของผู้ลักลอบนำผลงานของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็นของตน (ในกรณีทางศิลปะการนำข้อมูลต่างๆมาอ้างอิงหรือมาสร้างสรรค์เป็นผลงานศิลปะของตัวเองโดยอ้างถึงแรงบันดาลใจ ผู้เรียนจะต้องทราบถึงการรู้จักการให้เครดิต (Credit) หรือการทบทวนวรรณกรรม (Literature review) หรือการอ้างอิง (Reference) และการใช้บรรณานุกรม (Bibliography) ที่ถูกต้องตามหลักทางวิชาการและวิชาชีพ
- ให้คำสั่งหรือคำเตือน การปฏิบัติตนให้เป็นสุภาพชนคำนึงถึงเกียรติและศักดิ์ศรีของผู้อื่นในการเรียนร่วมชั้นเรียนกับเพื่อนร่วมชั้น และการกระทำเมื่อต้องอยู่ร่วมสังคมกับผู้อื่นโดยเฉพาะในช่วงระยะเวลาของการเรียนการสอนซึ่งต้องมีการเผยแพร่ผลงานของตนเองสู่สาธารณะชน
- วัดผลจากแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ในทุกวิชา ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอน และ ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด ระยะเวลา ที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรมที่ไม่เอาเปรียบเพื่อนร่วมชั้น
- ประเมินพฤติกรรมการรับรู้จากการสอนด้านคุณธรรม จริยธรรม มีนักศึกษาคนใดเปลี่ยนแปลง ปรับปรุงตนเองและนำข้อมูลหรือคำสั่งและคำเตือนนำไปใช้จริงบ้าง
- วัดผลจากผลงานของนักศึกษาทั้งในระหว่างการทำงานและหลังจากมีผลงานสำเร็จแล้วว่ามีการลอกเลียนผลงานของผู้อื่นมากน้อยในระดับใด มีการยอมรับว่าอ้างอิงและให้เครดิตแก่เจ้าของผลงานตัวจริงหรือไม่
- ประเมินพฤติกรรมการรับรู้จากการสอนด้านคุณธรรม จริยธรรม มีนักศึกษาคนใดเปลี่ยนแปลง ปรับปรุงตนเองและนำข้อมูลหรือคำสั่งและคำเตือนนำไปใช้จริงบ้าง
- วัดผลจากผลงานของนักศึกษาทั้งในระหว่างการทำงานและหลังจากมีผลงานสำเร็จแล้วว่ามีการลอกเลียนผลงานของผู้อื่นมากน้อยในระดับใด มีการยอมรับว่าอ้างอิงและให้เครดิตแก่เจ้าของผลงานตัวจริงหรือไม่
ข้อ 1 มีความรู้ทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
ข้อ 2 สามารถคิดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา ข้อ 3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ข้อ 2 สามารถคิดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา ข้อ 3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
- ใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ใช้การบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน (Work-Integrated Learning)/ CDIO : (Conceiving - Desighing -Implementing –Operating) เช่นการทำโครงการทางศิลปะ (Project Art) ที่เชื่อมโยงข้อมูลทางศิลปะที่เกี่ยวข้องกับ สังคม เศรษฐกิจ การเมือง วิศวกรรมหรือวิทยาศาสตร์เป็นต้น
- มุ่งเน้นการเรียนการสอนที่ใช้ทั้งหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ความรู้ในการปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริงและให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงเสมอ
- จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงาน ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ
- ถ่ายทอดความรู้ทั้งในหลักการทางวิชาการและมีความรู้การใช้ทักษะในงานสื่อศิลปะสมัยใหม่ ให้เข้าใจในหลักการสามารถคิดวิเคราะห์วางแผนการสร้างสรรค์งานได้อย่างเป็นระบบ
- มุ่งเน้นการเรียนการสอนที่ใช้ทั้งหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ความรู้ในการปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริงและให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงเสมอ
- จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงาน ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ
- ถ่ายทอดความรู้ทั้งในหลักการทางวิชาการและมีความรู้การใช้ทักษะในงานสื่อศิลปะสมัยใหม่ ให้เข้าใจในหลักการสามารถคิดวิเคราะห์วางแผนการสร้างสรรค์งานได้อย่างเป็นระบบ
- ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาทั้งช่วงระยะการสร้างผลงานและการมีผลงานที่สำเร็จแล้ว เช่นการทดสอบย่อย เช่นการทำภาพร่างก่อนขยายผลงานจริง การประเมินจากการนำเสนอผลงานในชั้นเรียน
- สังเกตพฤติกรรมการนำความรู้ที่ได้รับบูรณาการความรู้หรือพัฒนาผลงานศิลปะของนักศึกษาจนเข้าสู่การสร้างสรรค์ศิลปะเฉพาะตนได้มากน้อยเพียงใดโดยต้องคำนึงถึงการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นการใช้เทคโนโลยีทางสื่อศิลปะให้มากที่สุด
- วัดผลจากการใช้ความรู้ทางเทคโนโลยีในทางสื่อศิลปะ ผลงานของนักศึกษามีความเป็นสื่อศิลปะตรงตามจุดประสงค์และคำอธิบายรายวิชาได้ซึ่งความรู้ที่นำมาใช้จะต้องสอดคล้องกับเรื่องราวและเหตุการณ์ต่างๆที่สำคัญต่อนักศึกษาจนสามารถนำมาพัฒนาเป็นผลงานศิลปะเฉพาะตน
- สังเกตพฤติกรรมการนำความรู้ที่ได้รับบูรณาการความรู้หรือพัฒนาผลงานศิลปะของนักศึกษาจนเข้าสู่การสร้างสรรค์ศิลปะเฉพาะตนได้มากน้อยเพียงใดโดยต้องคำนึงถึงการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นการใช้เทคโนโลยีทางสื่อศิลปะให้มากที่สุด
- วัดผลจากการใช้ความรู้ทางเทคโนโลยีในทางสื่อศิลปะ ผลงานของนักศึกษามีความเป็นสื่อศิลปะตรงตามจุดประสงค์และคำอธิบายรายวิชาได้ซึ่งความรู้ที่นำมาใช้จะต้องสอดคล้องกับเรื่องราวและเหตุการณ์ต่างๆที่สำคัญต่อนักศึกษาจนสามารถนำมาพัฒนาเป็นผลงานศิลปะเฉพาะตน
ข้อ 1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ
ข้อ 2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
- ใช้ผลงานที่ผ่านมาของนักศึกษาเก่าเป็นตัวอย่างในการทำงานและการถ่ายทอดข้อมูลตัวอย่างผลงานศิลปินที่เกี่ยวข้องต่อการสร้างผลงานทางสื่อศิลปะ วิเคราะห์กรณีศึกษาในกระบวนการสร้างสรรค์งานสื่อศิลปะสมัยใหม่
- การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูลเพื่อนำมาตีความถ่ายทอดเป็นผลงานเฉพาะตน
- ให้คำสั่งหรือโจทย์ โดยให้อภิปรายเดี่ยว ร่วมแสดงความคิดเห็น สามารถคิดวิเคราะห์ วางแผนในการสร้างผลงาน และเข้าใจกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานสื่อศิลปะสมัยใหม่
- การมอบงานให้นักศึกษาทำโครงการทางศิลปะ (Project Art) ที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา การนำเสนอผลงานตั้งแต่การทำภาพร่าง การทำเอกสารนำเสนอหัวข้อและการจัดแสดงนิทรรศการศิลปะ
- การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูลเพื่อนำมาตีความถ่ายทอดเป็นผลงานเฉพาะตน
- ให้คำสั่งหรือโจทย์ โดยให้อภิปรายเดี่ยว ร่วมแสดงความคิดเห็น สามารถคิดวิเคราะห์ วางแผนในการสร้างผลงาน และเข้าใจกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานสื่อศิลปะสมัยใหม่
- การมอบงานให้นักศึกษาทำโครงการทางศิลปะ (Project Art) ที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา การนำเสนอผลงานตั้งแต่การทำภาพร่าง การทำเอกสารนำเสนอหัวข้อและการจัดแสดงนิทรรศการศิลปะ
- ประเมินและวัดผลตามสภาพจริงจากผลงานที่สำเร็จแล้วของนักศึกษา
- สังเกตและวัดผลจากการปฏิบัติงานของนักศึกษาทั้งในระหว่างการทำงานและการนำเสนอผลงานที่สมบูรณ์ และการนำเสนองานพร้อมการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและวิพากษ์ผลงานอย่างมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
- ผลงานนักศึกษาที่สมบูรณ์แล้วนักศึกษาต้องสามารถวิเคราะห์จากการตีความทางศิลปะด้วยตนเองได้และมีความสอดคล้องกับผลงานที่สำเร็จแล้ว
- การนำเสนอผลงานต้องมีขั้นตอนและหลักการทางศิลปะมาอ้างอิงและนักศึกษาจะต้องสามารถอธิบายที่มา ความเป็นมา การปรับเปลี่ยนหรือการปรับปรุงพัฒนาผลงานของตนเองได้ทุกขั้นตอนอย่างเป็นระบบเพื่อวัดผลว่านักศึกษาสร้างผลงานด้วยตนเองจริง
- สังเกตและวัดผลจากการปฏิบัติงานของนักศึกษาทั้งในระหว่างการทำงานและการนำเสนอผลงานที่สมบูรณ์ และการนำเสนองานพร้อมการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและวิพากษ์ผลงานอย่างมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
- ผลงานนักศึกษาที่สมบูรณ์แล้วนักศึกษาต้องสามารถวิเคราะห์จากการตีความทางศิลปะด้วยตนเองได้และมีความสอดคล้องกับผลงานที่สำเร็จแล้ว
- การนำเสนอผลงานต้องมีขั้นตอนและหลักการทางศิลปะมาอ้างอิงและนักศึกษาจะต้องสามารถอธิบายที่มา ความเป็นมา การปรับเปลี่ยนหรือการปรับปรุงพัฒนาผลงานของตนเองได้ทุกขั้นตอนอย่างเป็นระบบเพื่อวัดผลว่านักศึกษาสร้างผลงานด้วยตนเองจริง
ข้อ 1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
ข้อ 2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อ 3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม ข้อ 4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
ข้อ 2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อ 3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม ข้อ 4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- สร้างกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี การมีมารยาททางสังคมที่ดีเป็นอย่างไร บทบาทที่ดีของการเป็นเพื่อนร่วมชั้นเรียนโดยคำนึงถึงการเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น และวิธีการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่นอย่างมีมารยาทเป็นเหตุเป็นผล
- มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันให้นักศึกษาทำหน้าที่เป็นผู้นำและผู้ตาม รู้จักระบบระเบียบการประสานงานกับบุคคลภายนอก โดยการนำผลงานไปจัดนิทรรศการศิลปะ โดยมีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบในแต่ละฝ่ายอย่างชัดเจน
- ถ่ายทอดวิชาความรู้ในด้านการนำวิชาที่ศึกษามาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม เช่น การเข้าร่วมงานประเพณีวัฒนธรรมของชุมชนและใช้ผลงานสื่อศิลปะมาเข้าร่วมกับชุมชน หรือการสร้างสรรค์ผลงานสื่อศิลปะในเชิงพัฒนาความรู้เยาวชน เป็นต้น
- มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันให้นักศึกษาทำหน้าที่เป็นผู้นำและผู้ตาม รู้จักระบบระเบียบการประสานงานกับบุคคลภายนอก โดยการนำผลงานไปจัดนิทรรศการศิลปะ โดยมีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบในแต่ละฝ่ายอย่างชัดเจน
- ถ่ายทอดวิชาความรู้ในด้านการนำวิชาที่ศึกษามาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม เช่น การเข้าร่วมงานประเพณีวัฒนธรรมของชุมชนและใช้ผลงานสื่อศิลปะมาเข้าร่วมกับชุมชน หรือการสร้างสรรค์ผลงานสื่อศิลปะในเชิงพัฒนาความรู้เยาวชน เป็นต้น
- ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองานของตนเอง การยอมรับข้อดีข้อเสียในผลงานและนำไปปรับปรุงตามข้อแนะนำของผู้สอนได้
- สังเกตการกระทำในชั้นเรียนที่มีต่อเพื่อนร่วมชั้นและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ เช่นการช่วยเพื่อนร่วมชั้นจัดแสดงนิทรรศการศิลปะ การแบ่งพื้นที่การจัดแสดงงานในแต่ละโครงการศิลปะ (Project Art)
- การประเมินจากผลงานที่สมบูรณ์เพื่อนำเสนองานนั้นมีประเด็นใดที่เกี่ยวข้องกับการช่วยเหลือทางสังคมและมีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด หรือสอดคล้องกับข้อคิดที่ชวนให้ตระหนักรู้ทางความคิดในประเด็นที่เหมาะสมหรือไม่
- สังเกตการกระทำในชั้นเรียนที่มีต่อเพื่อนร่วมชั้นและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ เช่นการช่วยเพื่อนร่วมชั้นจัดแสดงนิทรรศการศิลปะ การแบ่งพื้นที่การจัดแสดงงานในแต่ละโครงการศิลปะ (Project Art)
- การประเมินจากผลงานที่สมบูรณ์เพื่อนำเสนองานนั้นมีประเด็นใดที่เกี่ยวข้องกับการช่วยเหลือทางสังคมและมีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด หรือสอดคล้องกับข้อคิดที่ชวนให้ตระหนักรู้ทางความคิดในประเด็นที่เหมาะสมหรือไม่
ข้อ 1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
ข้อ 2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
ข้อ 3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ 3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ให้คำสั่งหรือโจทย์การเรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผลความรู้ทางเทคโนโลยี โดยการใช้ตัวเลขหรือเครื่องมือสื่อสารอื่นๆเพื่อการจัดการข้อมูลอย่างเหมาะสม
- ให้ศึกษานอกเวลาค้นคว้ารายงาน สืบค้นแหล่งข้อมูลจากหนังสือและอินเตอร์เน็ต สื่อออนไลน์ที่น่าเชื่อถือต่างๆเพื่อเป็นข้อมูลประกอบในการวิเคราะห์การสร้างสรรค์ผลงานสื่อศิลปะ
- ให้โจทย์หรือคำถามที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง โดยมุ่งเน้นให้มีการนำภาษาอังกฤษมาประกอบร่วมกับการใช้ภาษาไทย ในการนำเสนอผลงานสื่อศิลปะของตนเอง
- ให้ศึกษานอกเวลาค้นคว้ารายงาน สืบค้นแหล่งข้อมูลจากหนังสือและอินเตอร์เน็ต สื่อออนไลน์ที่น่าเชื่อถือต่างๆเพื่อเป็นข้อมูลประกอบในการวิเคราะห์การสร้างสรรค์ผลงานสื่อศิลปะ
- ให้โจทย์หรือคำถามที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง โดยมุ่งเน้นให้มีการนำภาษาอังกฤษมาประกอบร่วมกับการใช้ภาษาไทย ในการนำเสนอผลงานสื่อศิลปะของตนเอง
- ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลที่วิเคราะห์ออกมาอย่างเป็นระบบ การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
- ประเมินและวัดผลจากเอกสารนำเสนอในชั้นเรียนและการใช้ข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับใช้ร่วมกับผลงานสร้างสรรค์สื่อศิลปะของตนเองซึ่งมุ่งเน้นให้มีการใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษอย่างถูกต้องและเหมาะสม
- ประเมินและวัดผลจากเอกสารนำเสนอในชั้นเรียนและการใช้ข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับใช้ร่วมกับผลงานสร้างสรรค์สื่อศิลปะของตนเองซึ่งมุ่งเน้นให้มีการใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษอย่างถูกต้องและเหมาะสม
ข้อ 1 มีทักษะในการใช้วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัย
ข้อ 2 มีทักษะในการร่างและทำต้นแบบผลงานตามที่แต่ละคนถนัด
ข้อ 3 สามารถสร้างสรรค์ผลงานโดยใช้เทคนิคต่างๆได้อย่างเหมาะสม
ข้อ 4 สามารถวิเคราะห์ปัญหาในการสร้างสรรค์ผลงาน
ข้อ 5 มีทักษะในการสร้างสรรค์ที่แสดงเอกลักษณ์เฉพาะตนได้อย่างชัดเจน
- ให้ข้อมูลและถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการใช้วัสดุอุปกรณ์ทางสื่อศิลปะให้มีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัย โดยเฉพาะอุปกรณ์ในการทำงานศิลปะที่เกี่ยวข้องกับการใช้ไฟฟ้า การใช้อุปกรณ์ของมีคมอันตรายที่ตามมาต่างๆ รวมถึงเมื่อเกิดอุบัติเหตุต้องมีการจัดการหรือการปฏิบัติตัวเบื้องต้นอย่างไรให้เหมาะสม
- ให้คำสั่งหรือโจทย์การทำงานก่อนการขยายผลงานจริงคือการทำภาพร่างหรือการทำโมเดล (Model Art) ซึ่งในสื่อศิลปะจะมีการใช้โปรแกรมช่วยเหลือการสร้างภาพร่างและการทำโมเดลต่างๆเช่นโปรแกรมดังต่อไปนี้ Sketchup, Adobe Photoshop, Adobe Iiilustrate etc. อย่างไรก็ตามขั้นตอนของการทำภาพร่างสื่อศิลปะจะมุ่งเน้นการวาดภาพด้วยมือและจึงพัฒนาสู่การทำภาพทั้งแบบ 2 มิติและ 3 มิติ ก่อนการขยายเป็นผลงานจริง
- ให้นำเสนอเทคนิคเฉพาะทางที่นักศึกษาแต่ละคนถนัดเพื่อนำมาสร้างเป็นผลงานจริง และผลงานสร้างสรรค์ต้องมีความเป็นสื่อศิลปะและมีความเฉพาะตัวอย่างโดดเด่น
- สอนให้นักศึกษารู้จักวิธีการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าเมื่อผลงานต้องมีการปรับเปลียนหรือปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่หรือวัสดุที่ใช้เนื่องจากผลงานสื่อศิลปะ มักจะเกี่ยวข้องกับการใช้บริบทของพื้นที่
- ให้นักศึกษานำเสนอผลงานที่มุ่งเน้นการใช้ทักษะทางสื่อศิลปะสร้างสรรค์ในรูปแบบที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว หากต้องมีการอ้างอิงผลงานศิลปินตัวอย่างนั้นนักศึกษาต้องสามารถวิเคราะห์และตีความได้ว่านำส่วนใดมาอ้างอิงและพัฒนามาจนเป็นผลงานของตนเองได้อย่างไร
- ให้คำสั่งหรือโจทย์การทำงานก่อนการขยายผลงานจริงคือการทำภาพร่างหรือการทำโมเดล (Model Art) ซึ่งในสื่อศิลปะจะมีการใช้โปรแกรมช่วยเหลือการสร้างภาพร่างและการทำโมเดลต่างๆเช่นโปรแกรมดังต่อไปนี้ Sketchup, Adobe Photoshop, Adobe Iiilustrate etc. อย่างไรก็ตามขั้นตอนของการทำภาพร่างสื่อศิลปะจะมุ่งเน้นการวาดภาพด้วยมือและจึงพัฒนาสู่การทำภาพทั้งแบบ 2 มิติและ 3 มิติ ก่อนการขยายเป็นผลงานจริง
- ให้นำเสนอเทคนิคเฉพาะทางที่นักศึกษาแต่ละคนถนัดเพื่อนำมาสร้างเป็นผลงานจริง และผลงานสร้างสรรค์ต้องมีความเป็นสื่อศิลปะและมีความเฉพาะตัวอย่างโดดเด่น
- สอนให้นักศึกษารู้จักวิธีการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าเมื่อผลงานต้องมีการปรับเปลียนหรือปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่หรือวัสดุที่ใช้เนื่องจากผลงานสื่อศิลปะ มักจะเกี่ยวข้องกับการใช้บริบทของพื้นที่
- ให้นักศึกษานำเสนอผลงานที่มุ่งเน้นการใช้ทักษะทางสื่อศิลปะสร้างสรรค์ในรูปแบบที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว หากต้องมีการอ้างอิงผลงานศิลปินตัวอย่างนั้นนักศึกษาต้องสามารถวิเคราะห์และตีความได้ว่านำส่วนใดมาอ้างอิงและพัฒนามาจนเป็นผลงานของตนเองได้อย่างไร
- สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาเกี่ยวกับการใช้วัสดุอุปกรณ์ทางสื่อศิลปะให้มีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัย โดยเฉพาะอุปกรณ์ในการทำงานศิลปะที่เกี่ยวข้องกับการใช้ไฟฟ้า การใช้อุปกรณ์ของมีคมอันตรายที่ตามมาต่างๆ รวมถึงเมื่อเกิดอุบัติเหตุนักศึกษามีการจัดการหรือการปฏิบัติตัวเบื้องต้นอย่างไรให้เหมาะสมตามคำแนะนำหรือไม่
- ประเมินและวัดผลจากผลงานภาพร่างก่อนการขยายผลงานจริงที่เป็นไปตามขั้นตอนของการทำภาพร่างสื่อศิลปะที่มุ่งเน้นการวาดภาพด้วยมือและพัฒนาสู่การทำภาพทั้งแบบ 2 มิติและ 3 มิติ ก่อนการขยายเป็นผลงานจริง
- ประเมินผลจากการนำเทคนิคเฉพาะทางที่นักศึกษาแต่ละคนถนัดเพื่อนำมาสร้างเป็นผลงานจริงมาใช้เป็นผลงานสร้างสรรค์โดยมีความเป็นสื่อศิลปะและมีความเฉพาะตัวอย่างโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ได้มากน้อยเพียงใด
- สังเกตพฤติกรรมวิธีการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าของนักศึกษาเมื่อผลงานต้องมีการปรับเปลียนหรือปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่หรือวัสดุที่ใช้
- วัดผลและประเมินผลจากการที่นักศึกษานำเสนอผลงานที่มุ่งเน้นการใช้ทักษะทางสื่อศิลปะสร้างสรรค์ในรูปแบบที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว เมื่ออ้างอิงผลงานศิลปินตัวอย่างสามารถตอบคำถามผู้สอนและสามารถวิเคราะห์และตีความได้ว่านำส่วนใดมาอ้างอิงและพัฒนามาจนเป็นผลงานของตนเองได้อย่างถูกต้อง
- ประเมินและวัดผลจากผลงานภาพร่างก่อนการขยายผลงานจริงที่เป็นไปตามขั้นตอนของการทำภาพร่างสื่อศิลปะที่มุ่งเน้นการวาดภาพด้วยมือและพัฒนาสู่การทำภาพทั้งแบบ 2 มิติและ 3 มิติ ก่อนการขยายเป็นผลงานจริง
- ประเมินผลจากการนำเทคนิคเฉพาะทางที่นักศึกษาแต่ละคนถนัดเพื่อนำมาสร้างเป็นผลงานจริงมาใช้เป็นผลงานสร้างสรรค์โดยมีความเป็นสื่อศิลปะและมีความเฉพาะตัวอย่างโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ได้มากน้อยเพียงใด
- สังเกตพฤติกรรมวิธีการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าของนักศึกษาเมื่อผลงานต้องมีการปรับเปลียนหรือปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่หรือวัสดุที่ใช้
- วัดผลและประเมินผลจากการที่นักศึกษานำเสนอผลงานที่มุ่งเน้นการใช้ทักษะทางสื่อศิลปะสร้างสรรค์ในรูปแบบที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว เมื่ออ้างอิงผลงานศิลปินตัวอย่างสามารถตอบคำถามผู้สอนและสามารถวิเคราะห์และตีความได้ว่านำส่วนใดมาอ้างอิงและพัฒนามาจนเป็นผลงานของตนเองได้อย่างถูกต้อง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.คุณธรรมจริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6.ด้านทักษะพิสัย | |||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | ข้อ 1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมและจริยธรรม | ข้อ 2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ | ข้อ 3 มีวินัย ขยันอดทนตรงต่อเวลาและรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม | ข้อ 4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ | ข้อ 1 มีความรู้ทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา | ข้อ 2 สามารถคิดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา | ข้อ 3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง | ข้อ 1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ | ข้อ 2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ | ข้อ 1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี | ข้อ 2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ | ข้อ 3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม | ข้อ 4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม | ข้อ 1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม | ข้อ 2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม | ข้อ 3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ | ข้อ 1 มีทักษะในการใช้วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัย | ข้อ 2 มีทักษะในการร่างและทำต้นแบบผลงานตามที่แต่ละคนถนัด | ข้อ 3 สามารถสร้างสรรค์ผลงานโดยใช้เทคนิคต่างๆได้อย่างเหมาะสม | ข้อ 4 สามารถวิเคราะห์ปัญหาในการสร้างสรรค์ผลงาน | ข้อ 5 มีทักษะในการสร้างสรรค์ที่แสดงเอกลักษณ์เฉพาะตนได้อย่างชัดเจน |
1 | 41015406 | สื่อศิลปะ 5 |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 3.1-3.4 4.1-4.4 5.1-5.5 | การประเมินย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค การประเมินย่อยครั้งที่ 2 การประเมินย่อยครั้งที่ 3 สอบปลายภาค | 6 9 11 16 18 | 50% |
2 | 5.6 3.1,3.2, 4.1,4.2,5.1,5.2,3.3,3.4, 4.3,4.4,5.3, 5.4, 5.5 | ประเมินสรุปทุกชิ้นผลงาน วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนําเสนอ รายงาน การทํางานและผลงาน การส่งผลงานตามที่มอบหมาย | ตลอดภาค การศึกษา | 40% |
3 | 3,4,5 | การเข้าชั้นเรียน พฤติกรรมการเรียนและพฤติกรรมกับเพื่อนร่วมชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาค การศึกษา | 10% |
นิวมีเดียอาร์ต = New Media Art / มาร์ค ไทรบ์, รีนา จานา ; สำราญ หม่อมพกุล, วรพจน์ สัตตะพันธ์คีรี แปล, กรุงเทพฯ : เดอะเกรทไฟน์อาร์ท, 2552
พิพิธภัณฑ์สื่อศิลปะสมัยใหม่ = New media art museum / โดย กฤตยา นันทขว้าง
เชียงใหม่ : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2556
ศูนย์สื่อศิลปะสมัยใหม่และเทคโนโลยี เมืองเชียงใหม่ = Chaingmai new media art and technology center / โดย เจษฎากร เมืองอินทร์, เชียงใหม่ : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2545
Aesthetics of interaction in digital art / Katja Kwastek ; foreword by Dieter Daniels ; translated by Niamh Warde, Cambridge, Massachusetts : The MIT Press, 2013
Art+Com : media spaces and installations / Joachim Sauter, Susanne Jaschko, Jussi Angesleva, Berlin : Gestalten, 2011
Coded characters : media art by Jill Scott / [editor: Marille Hahne ; texts: Roy Ascott ... ; translation: Michael Elsen, Ostfildern : Hatje Cantz ; US distribution, D.A.P. Distributed Art Publishers, 2003
Doing gender in media, art and culture / edited by Rosemarie Buikema, Iris van der Tuin, London ; New York : Routledge, 2009
Frieling, Rudolf, and Dieter Daniels, eds. Media Art Net 1: Survey of Media Art.
New York and Vienna: Springer, 2004.
Goetz, Sammlung / Ingvild Goetz, Fast forward: media art. Hatje Cantz, 2006
Grau, Oliver. Virtual Art: From Illusion to Immersion. Cambridge, MA: MIT, 2003.
Hope, Cat, and John Charles Ryan. Digital Arts: An Introduction to New Media.
New York and London: Bloomsbury, 2014.
Medien Kunst Interaktion. Die 80er und 90er Jahre in Deutschland = Media art interaction. The 1980s and 1990s in Germany / Rudolf Frieling, Dieter Daniels ; Goethe-Institut [und] ZKM, Zentrum fur Kunst und Medientechnologie Karlsruhe, Wien ; New York : Springer, c2000
MediaArtHistories / edited by Oliver Grau, Cambridge, Mass. : The MIT Press, c2007
New media art / Mark Tribe, Reena Jana ; Uta Grosenick (ed.), Hong Kong ; Los
Angeles : Taschen, c2009
Paul, Christiane. Digital Art. New York: Thames & Hudson, 2003.
Rush, Michael. New Media in Art. London: Thames & Hudson, 2005.
Shanken, Edward A. Art and Electronic Media. London: Phaidon, 2009.
Tribe, Mark, Reena Jana, and Uta Grosenick. New Media Art.
Cologne: Taschen, 2006.
Wands, Bruce. Art of the Digital Age. New York: Thames & Hudson, 2006.
Wilson, Stephen. Information Arts: Intersections of Art, Science, and
Technology. Cambridge, MA: MIT, 2002.
พิพิธภัณฑ์สื่อศิลปะสมัยใหม่ = New media art museum / โดย กฤตยา นันทขว้าง
เชียงใหม่ : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2556
ศูนย์สื่อศิลปะสมัยใหม่และเทคโนโลยี เมืองเชียงใหม่ = Chaingmai new media art and technology center / โดย เจษฎากร เมืองอินทร์, เชียงใหม่ : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2545
Aesthetics of interaction in digital art / Katja Kwastek ; foreword by Dieter Daniels ; translated by Niamh Warde, Cambridge, Massachusetts : The MIT Press, 2013
Art+Com : media spaces and installations / Joachim Sauter, Susanne Jaschko, Jussi Angesleva, Berlin : Gestalten, 2011
Coded characters : media art by Jill Scott / [editor: Marille Hahne ; texts: Roy Ascott ... ; translation: Michael Elsen, Ostfildern : Hatje Cantz ; US distribution, D.A.P. Distributed Art Publishers, 2003
Doing gender in media, art and culture / edited by Rosemarie Buikema, Iris van der Tuin, London ; New York : Routledge, 2009
Frieling, Rudolf, and Dieter Daniels, eds. Media Art Net 1: Survey of Media Art.
New York and Vienna: Springer, 2004.
Goetz, Sammlung / Ingvild Goetz, Fast forward: media art. Hatje Cantz, 2006
Grau, Oliver. Virtual Art: From Illusion to Immersion. Cambridge, MA: MIT, 2003.
Hope, Cat, and John Charles Ryan. Digital Arts: An Introduction to New Media.
New York and London: Bloomsbury, 2014.
Medien Kunst Interaktion. Die 80er und 90er Jahre in Deutschland = Media art interaction. The 1980s and 1990s in Germany / Rudolf Frieling, Dieter Daniels ; Goethe-Institut [und] ZKM, Zentrum fur Kunst und Medientechnologie Karlsruhe, Wien ; New York : Springer, c2000
MediaArtHistories / edited by Oliver Grau, Cambridge, Mass. : The MIT Press, c2007
New media art / Mark Tribe, Reena Jana ; Uta Grosenick (ed.), Hong Kong ; Los
Angeles : Taschen, c2009
Paul, Christiane. Digital Art. New York: Thames & Hudson, 2003.
Rush, Michael. New Media in Art. London: Thames & Hudson, 2005.
Shanken, Edward A. Art and Electronic Media. London: Phaidon, 2009.
Tribe, Mark, Reena Jana, and Uta Grosenick. New Media Art.
Cologne: Taschen, 2006.
Wands, Bruce. Art of the Digital Age. New York: Thames & Hudson, 2006.
Wilson, Stephen. Information Arts: Intersections of Art, Science, and
Technology. Cambridge, MA: MIT, 2002.
- บทความทางศิลปะที่เกี่ยวข้องกับสื่อศิลปะ
- ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสื่อศิลปะ
- หนังสือสูจิบัตรการจัดแสดงนิทรรศการทั้งในประเทศและต่างประเทศ
- ผลงานโครงงานของนักศึกษารุ่นก่อนเพื่อนำเป็นตัวอย่างให้กับนักศึกษาปัจจุบัน
- ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสื่อศิลปะ
- หนังสือสูจิบัตรการจัดแสดงนิทรรศการทั้งในประเทศและต่างประเทศ
- ผลงานโครงงานของนักศึกษารุ่นก่อนเพื่อนำเป็นตัวอย่างให้กับนักศึกษาปัจจุบัน
.1 วารสารศิลปะ
- Art 4D Magazine
- Aesthetica - The Art and Culture Magazine
- Anatomy for 3d Artist The essential guide for professional Book
- The Professional Photoshop Book
- Media Art School Arts Collection Book
- ImageFX Magazine
- Artists Magazine
- Art & Beyond Magazine
- Art & Electronic Media
3.2 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับผลงานสร้างสรรค์ศิลปะ
http://www.deviantart.com
http://www.artdaily.org
http://www.interartcenter.net
http://www.artbubble.org
http://www.theartsmap.com
http://www.aestheticamagazine.com
- Art 4D Magazine
- Aesthetica - The Art and Culture Magazine
- Anatomy for 3d Artist The essential guide for professional Book
- The Professional Photoshop Book
- Media Art School Arts Collection Book
- ImageFX Magazine
- Artists Magazine
- Art & Beyond Magazine
- Art & Electronic Media
3.2 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับผลงานสร้างสรรค์ศิลปะ
http://www.deviantart.com
http://www.artdaily.org
http://www.interartcenter.net
http://www.artbubble.org
http://www.theartsmap.com
http://www.aestheticamagazine.com
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา การสอบถามความพึงพอใจในการปฏิบัติงานตามหัวข้อที่กำหนด การให้ข้อแนะนำหรือตอบปัญหาข้อซักถามกับนักศึกษาเพื่อการพัฒนารายวิชาในปีถัดไป
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา การสอบถามความพึงพอใจในการปฏิบัติงานตามหัวข้อที่กำหนด การให้ข้อแนะนำหรือตอบปัญหาข้อซักถามกับนักศึกษาเพื่อการพัฒนารายวิชาในปีถัดไป
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์การสอนของผู้ร่วมทีมสอนและสลับกับทีมสอนในการประเมินผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา ค่าน้ำหนักของการให้เกรด เหตุผลการให้ระดับเกรดรายบุคคล
2.3 ผลการทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.4 ผลการประเมินจากผู้ชมในการจัดแสดงนิทรรศการของนักศึกษาสื่อศิลปะในแต่ละปี
2.1 การสังเกตการณ์การสอนของผู้ร่วมทีมสอนและสลับกับทีมสอนในการประเมินผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา ค่าน้ำหนักของการให้เกรด เหตุผลการให้ระดับเกรดรายบุคคล
2.3 ผลการทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.4 ผลการประเมินจากผู้ชมในการจัดแสดงนิทรรศการของนักศึกษาสื่อศิลปะในแต่ละปี
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 ทีมผู้สอนจัดสัมมนาการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในปีต่อไป
3.2 นำผลงานวิจัยสร้างสรรค์ในแต่ละปีมาประกอบการเรียนการสอน
3.3 นำบทความที่เกี่ยวข้องการรายวิชาที่มีการปรับข้อมูลเก่าให้เป็นข้อมูลปัจจุบันที่ทันสมัย
3.4 ปรับปรุงวิธีการสอนให้เหมาะสมต่อการเปลี่ยนแปลงทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน
3.5 บันทึกหรือจัดเก็บข้อมูลที่ผ่านมาเพื่อนำมาประกอบการพิจารณาการปรับปรุงการเรียน
การสอนในปีต่อไป
3.1 ทีมผู้สอนจัดสัมมนาการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในปีต่อไป
3.2 นำผลงานวิจัยสร้างสรรค์ในแต่ละปีมาประกอบการเรียนการสอน
3.3 นำบทความที่เกี่ยวข้องการรายวิชาที่มีการปรับข้อมูลเก่าให้เป็นข้อมูลปัจจุบันที่ทันสมัย
3.4 ปรับปรุงวิธีการสอนให้เหมาะสมต่อการเปลี่ยนแปลงทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน
3.5 บันทึกหรือจัดเก็บข้อมูลที่ผ่านมาเพื่อนำมาประกอบการพิจารณาการปรับปรุงการเรียน
การสอนในปีต่อไป
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.3 มีการทำรายงานการทวนสอบเพื่อให้คณะกรรมการหลักสูตรพิจารณาผลงานการทวนสอบอย่างเป็นระบบซึ่งภายในรายงานจะประกอบด้วยผลการประเมินจากนักศึกษา ผลการประเมินตนเองและเนื้อหาการทวนสอบรายวิชาสำหรับให้กรรมการหลักสูตรตรวจสอบต่อไป
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.3 มีการทำรายงานการทวนสอบเพื่อให้คณะกรรมการหลักสูตรพิจารณาผลงานการทวนสอบอย่างเป็นระบบซึ่งภายในรายงานจะประกอบด้วยผลการประเมินจากนักศึกษา ผลการประเมินตนเองและเนื้อหาการทวนสอบรายวิชาสำหรับให้กรรมการหลักสูตรตรวจสอบต่อไป
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 การเชิญผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกมาให้ความรู้เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้
หรือรู้จักการบูรณาการความรู้ของตนเองให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด
5.3 การนำข้อแนะนำทั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิทางการศึกษาจากภายในและภายนอก รวมถึงข้อแนะนำจาก
คณะกรรมการหลักสูตรและข้อแนะนำของศิษย์เก่าและนักศึกษาปัจจุบันมาปรับปรุง
5.4 นำเอาผลงานวิจัยหรือบทความทางวิชาการของผู้สอนในแต่ละปีมาถ่ายทอดให้กับนักศึกษาและปรับ
ให้เข้ากับการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทั้งศักยภาพของผู้สอนและนักศึกษา
5.5 นำเอาผลการประเมินการทวนสอบเพื่อมาจัดทำแผนการปรับปรุงการเรียนการสอนในแต่ละปีโดย
การจัดให้ทีมผู้สอนสัมมนาหรือประชุมร่วมกันเพื่อหาแนวทางการพัฒนาการเรียนการสอน
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 การเชิญผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกมาให้ความรู้เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้
หรือรู้จักการบูรณาการความรู้ของตนเองให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด
5.3 การนำข้อแนะนำทั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิทางการศึกษาจากภายในและภายนอก รวมถึงข้อแนะนำจาก
คณะกรรมการหลักสูตรและข้อแนะนำของศิษย์เก่าและนักศึกษาปัจจุบันมาปรับปรุง
5.4 นำเอาผลงานวิจัยหรือบทความทางวิชาการของผู้สอนในแต่ละปีมาถ่ายทอดให้กับนักศึกษาและปรับ
ให้เข้ากับการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทั้งศักยภาพของผู้สอนและนักศึกษา
5.5 นำเอาผลการประเมินการทวนสอบเพื่อมาจัดทำแผนการปรับปรุงการเรียนการสอนในแต่ละปีโดย
การจัดให้ทีมผู้สอนสัมมนาหรือประชุมร่วมกันเพื่อหาแนวทางการพัฒนาการเรียนการสอน