การเพาะเห็ด

Mushroom Culture

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะเกี่ยวกับความสำคัญและลักษณะทางชีววิทยาของเห็ด เห็ดพิษและความเป็นพิษของเห็ด ปัจจัยและสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของเห็ด การทำเชื้อและเพาะเห็ดชนิดต่าง ๆ การปฏิบัติดูแลรักษา การบริหารศัตรูเห็ด การเก็บเกี่ยว การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว ธุรกิจการเพาะเห็ด มีจิตสำนึกสาธารณะ มีจรรยาบรรณวิชาชีพ มีความรับผิดชอบต่อตนเอง เคารพสิทธิ์ในคุณค่าของความเป็นมนุษย์ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ บูรณาการร่วมกับศาสตร์อื่นๆ ปฎิบัติในเนื้อหาที่ศึกษามาได้ คิดอย่างเป็นระบบ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีภาวะผู้นำและผู้ตาม ทำงานร่วมกันเป็นทีม นำความรู้ที่ได้ช่วยเหลือสังคมได้อย่างเหมาะสม เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้อย่างเหมาะสม และสามารถใช้ภาษาในการนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะในสาขาวิชาชีพที่ทันสมัยให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัยและสามารถตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ศึกษาและฝึกปฎิบัติเกี่ยวกับความสำคัญและลักษณะทางชีววิทยาของเห็ด การจัดจำแนกเห็ด เห็ดพิษและความเป็นพิษของเห็ด ปัจจัยและสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของเห้ด การทำเชื้อและเพาะเห็ดชนิดต่างๆ การปฎิบัติดูแลรักษา การบริหารศัตรูเห็ด การเก็บเกี่ยว การใช้ประโยชน์ การแปรรูปและธุรกิจการเพาะเห็ด
อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์ของพื้นที่ และอาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1. มีจิตสำนึกสาธารณะ
2. มีจรรยาบรรณวิชาชีพ
3. มีความรับผิดชอบต่อตนเอง
4. เคารพสิทธิ์ในคุณค่าของความเป็นมนุษย์
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และกำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม และประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
1. มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ
2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ
3. บูรณาการร่วมกับศาสตร์อื่นๆ
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี และประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
1. ปฎิบัติในเนื้อหาที่ศึกษามาได้
2. คิดอย่างเป็นระบบ
การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน และวิเคราะห์กรณีศึกษาในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
2. มีภาวะผู้นำและผู้ตาม
3. ทำงานร่วมกันเป็นทีม
4. นำความรู้ที่ได้ช่วยเหลือสังคมได้อย่างเหมาะสม
จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา การมอบหมายงานรายกลุ่ม และการนำเสนอรายงาน
ประเมินจากรายงานที่นำเสนอพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
1. เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
2. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3. สามารถใช้ภาษาในการนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ และนำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีจิตสำนึกสาธารณะ มีจรรยาบรรณวิชาชีพ มีความรับผิดชอบต่อตนเอง เคารพสิทธิ์ในคุณค่าของความเป็นมนุษย์ มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ บูรณาการร่วมกับศาสตร์อื่นๆ ปฎิบัติในเนื้อหาที่ศึกษามาได้ คิดอย่างเป็นระบบ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีภาวะผู้นำและผู้ตาม ทำงานร่วมกันเป็นทีม นำความรู้ที่ได้ช่วยเหลือสังคมได้อย่างเหมาะสม เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้อย่างเหมาะสม การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถใช้ภาษาในการนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 21035307 การเพาะเห็ด
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 มีจิตสำนึกสาธารณะ มีจรรยาบรรณวิชาชีพ มีความรับผิดชอบต่อตนเอง และเคารพสิทธิ์ในคุณค่าของความเป็นมนุษย์ มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม และประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ บูรณาการร่วมกับศาสตร์อื่นๆ ปฎิบัติในเนื้อหาที่ศึกษามาได้ และคิดอย่างเป็นระบบ สอบกลางภาคการศึกษา 9 15%
3 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ บูรณาการร่วมกับศาสตร์อื่นๆ ปฎิบัติในเนื้อหาที่ศึกษามาได้ และคิดอย่างเป็นระบบ สอบปลายภาคการศึกษา 17 15%
4 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีภาวะผู้นำและผู้ตาม ทำงานร่วมกันเป็นทีม และนำความรู้ที่ได้ช่วยเหลือสังคมได้อย่างเหมาะสม ประเมินจากรายงานที่นำเสนอพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม ตลอดภาคการศึกษา 10%
5 เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้อย่างเหมาะสม และสามารถใช้ภาษาในการนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี ตลอดภาคการศึกษา 10%
6 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ บูรณาการร่วมกับศาสตร์อื่นๆ ปฎิบัติในเนื้อหาที่ศึกษามาได้ และคิดอย่างเป็นระบบ ปฏิบัติการ ตลอดภาคการศึกษา 10%
7 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ บูรณาการร่วมกับศาสตร์อื่นๆ ปฎิบัติในเนื้อหาที่ศึกษามาได้ และคิดอย่างเป็นระบบ งานมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
1.1 Stamets, P. (1983). The Mushroom Cultivator. Agarikon Press, Olympia, Washington, USA. 415p.  1.2 Chang, S. and Miles P. G. (2004). Mushrooms : cultivation, nutritional value, medicinal effect, and environmental impact. 2nd ed. CRC Press, New York, USA. 451p
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเฟรซบุ๊คที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา  2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน  3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร  4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ