โรคและปรสิตสัตว์น้ำ

Diseases and Parasites of Aquatic Animals

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
          1. รู้ความหมายของคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับโรคและปรสิตในสัตว์น้ำ
          2. รู้ชนิดและลักษณะของปรสิตในสัตว์น้ำ และการป้องกันกำจัด
          3. รู้ชนิดและลักษณะของโรคในสัตว์น้ำ และการป้องกันกำจัด
          4. รู้และเข้าใจวิธีการป้องกันโรคและปรสิตในสัตว์น้ำ
          5. เข้าใจความสัมพันธ์ของสิ่งแวดล้อมกับโรคและปรสิตสัตว์น้ำได้
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาให้ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับความหมาย คำศัพท์ สาเหตุของการเกิดโรคและปรสิตสัตว์น้ำ
โรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย  รา  ไวรัส  ปรสิตต่าง ๆ และการรักษา  การป้องกันโรคและปรสิตใน
สัตว์น้ำ
1 ชม./สัปดาห์
1.1มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
1.การสังเกต
2.1มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. การสอนแบบบรรยาย
 2. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)
3. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
1.การสังเกต
2.การนำเสนองาน
3.ข้อสอบอัตนัยและปรนัย
 
3.1มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
2. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)
3. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
1.การสังเกต
2.การตรวจสอบผลงาน
4.1มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)
2. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
3. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
1.การสังเกต
2.การประเมินผลการนำเสนองาน
5.1สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)
2. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
3. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
1.การสังเกต
2.การประเมินผลการนำเสนองาน
 
6.1สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.2สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
2. การสอนในห้องปฏิบัติการ  
3. การสอนแบบ  Problem Based Learning
1.การสังเกต
2.การตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3. 1. 2. 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3. 1. 2. 3.
1 23011203 โรคและปรสิตสัตว์น้ำ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.3 บันทึกการเข้าเรียนและการแต่งกายให้ถูกระเบียบวินัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 2.1.1, 3.1.1 การตอบปัญหาในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 2.1.1, 2.1.2, 2.1.3,3.1.1 การสอบกลางภาค 9 25%
4 2.1.1, 2.1.2, 2.1.3,3.1.1 การสอบปลายภาค 17 25 %
5 1.1.3, 2.1.1,3.1.1,4.1.1,4.2.14.3.1, งานมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20 %
6 1.1.3, 2.1.1, 2.1.2, 2.1.3, 3.1.1, 4.1.1, 4.1.3, 5.1.1 การนำเสนองาน/การรายงาน 10-15 10 %
 นนทวิทย์  อารีย์ชน.  2537.  การวินิจฉัยและการควบคุมโรคในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ.  ภาควิชา
          เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ คณะประมง, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  กรุงเทพฯ.  75 น.
บพิธ  จารุพันธุ์ และนันทพร  จารุพันธุ์.  2540.  สัตววิทยา.  คณะวิทยาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา. 
          กรุงเทพฯ. 458 น.
ปภาศิริ  ศรีโสภาภรณ์.  2537.  โรคและพยาธิของสัตว์น้ำ.  ภาควิชาวาริชศาสตร์  คณะวิทยาศาสตร์,
          มหาวิทยาลัยบูรพา.  กรุงเทพฯ.  184 น.
ประไพสิริ  สิริกาญจน.  2538.  ความรู้เรื่องปรสิตสัตว์น้ำ.  ภาควิชาชีววิทยาประมง  คณะประมง,
          มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  กรุงเทพฯ.  199 น.
 
ไม่มี
บทความเกี่ยวกับโรคและปรสิตสัตว์น้ำ จากเว็บไซต์ต่างๆ และอื่นๆ ตามความเหมาะสมของ
เหตุการณ์และความเป็นปัจจุบัน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
๑.๑  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
๑.๒  การสังเกตจากพฤติกรรมของผู้เรียน
๑.๓  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
๒.๑  การสังเกตพฤติกรรมการเรียนการสอน  การตอบสนอง  การมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
๒.๒  ผลการเรียนของนักศึกษา
๒.๓  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ ๒ จึงมีการปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
      อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาทุกภาคการศึกษา เฉพาะในรายวิชาที่มีปัญหาให้มีการทำวิจัยในชั้นเรียนมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยการตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ คณะมีระบบการทบทวนประสิทธิผลรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของสาขา  การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชาเพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรทุก ๕ ปี