เทคโนโลยีการออกแบบสิ่งพิมพ์ขั้นสูง
Advance Technology in Publishing Design
เพื่อให้ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ การออกแบบสิ่งพิมพ์ด้วยเทคโนโลยี เครื่องมือ และโปรแกรมขั้นสูง เพื่อสร้างผลงานด้านการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ที่ต้องการคุณภาพสูงและมีความซับซ้อนในการออแบบ เช่น งานสิ่งพิมพ์เพื่อการโฆษณา งานสิ่งพิมพ์บรรจุภัณฑ์ งานสิ่งพิมพ์ป้องกันการปลอมแปลง โดยใช้เทคโนโลยีปัจจุบัน เครื่องมือ และโปรแกรมเพื่อสร้างสรรค์ผลงาน รวมถึงการตรวจสอบควบคุมคุณภาพและรับรองคุณภาพงานออกแบบสิ่งพิมพ์
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบสิ่งพิมพ์ที่ต้องการคุณภาพสูง และมีความซับซ้อน โดยสามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีที่มีในปัจจุบัน เครื่องมือ และโปรแกรมที่เหมาะสมในการออกแบบ รวมถึงการตรวจสอบคุณภาพสิ่งพิมพ์ให้ได้ตามมาตรฐาน
3. เพื่อพัฒนาความรู้ในรายวิชาให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีทางด้านการออกแบบสิ่งพิมพ์ ที่มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปอย่างต่อเนื่อง
2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีที่มีในปัจจุบัน เครื่องมือ และโปรแกรมที่เหมาะสมในการออกแบบ รวมถึงการตรวจสอบคุณภาพสิ่งพิมพ์ให้ได้ตามมาตรฐาน
3. เพื่อพัฒนาความรู้ในรายวิชาให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีทางด้านการออกแบบสิ่งพิมพ์ ที่มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปอย่างต่อเนื่อง
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ การออกแบบสิ่งพิมพ์ด้วยเทคโนโลยี เครื่องมือ และโปรแกรมขั้นสูง เพื่อสร้างผลงานด้านการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ที่ต้องการคุณภาพสูงและมีความซับซ้อนในการออแบบ เช่น งานสิ่งพิมพ์เพื่อการโฆษณา งานสิ่งพิมพ์บรรจุภัณฑ์ งานสิ่งพิมพ์ป้องกันการปลอมแปลง รวมถึงการตรวจสอบควบคุมคุณภาพ และรับรองคุณภาพงานออกแบบสิ่งพิมพ์
พัฒนาผู้เรียนให้มีจรรยาบรรณวิชาชีพคำนึงถึงคุณค่าและตระหนักถึงความสำคัญของสิ่งพิมพ์พิเศษ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.5 มีการพัฒนาตนเอง วิชาชีพ บุคลิกภาพและวิสัยทัศน์ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ
มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.5 มีการพัฒนาตนเอง วิชาชีพ บุคลิกภาพและวิสัยทัศน์ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ
มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน
1.2.1 ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.2.2 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
1.2.3 มอบหมายงานเดี่ยวเพื่ออภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการแสดงออกทางความคิดเห็น
1.2.2 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
1.2.3 มอบหมายงานเดี่ยวเพื่ออภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการแสดงออกทางความคิดเห็น
1.3.1 ความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย และส่งงานตรงตามเวลาที่กำหนด
1.3.2 ความตั้งใจในการปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนด
1.3.3 การยอมรับฟังความคิดเห็นที่แตกต่างของเพื่อนในชั้นเรียนและผู้สอน
1.3.2 ความตั้งใจในการปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนด
1.3.3 การยอมรับฟังความคิดเห็นที่แตกต่างของเพื่อนในชั้นเรียนและผู้สอน
นักศึกษาสามารถคิด วิเคราะห์ ลำดับกระบวนการผลิตสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือและนิตยสารอีกทั้งเข้าใจการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่เหมาะสม กระบวนการเทคนิค เทคโนโลยีในขั้นตอนการผลิตหนังสือและนิตยสาร ตลอดจนการตรวจสอบ และควบคุมคุณภาพ โดยสามารถโยงแนวความคิดของศิลปวัฒนธรรมมาออกแบบเป็นสื่อสิ่งพิมพ์หนังสือและนิตยสารได้อย่างชัดเจนและถูกต้องตามหลักทางวิชาการ
2.2.1 บรรยายพร้อมใช้สื่อวิดีโอจากอินเตอร์เน็ตในการประกอบการเรียนการสอน ตัวอย่างจาก สิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือและนิตยสาร และขั้นตอนการผลิตหนังสือตั้งแต่กระบวนจัดเตรียมข้อมูล กระบวนการการผลิต ตลอดจนให้นักศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมเพื่อเป็นการประยุกต์และให้นักศึกษาสามารถนำความรู้มาต่อยอสำหรับออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ได้อย่างถูกต้อง
2.2.2 มอบหมายงานกลุ่มให้กับนักศึกษาเพื่อหาแนวทางในการวิเคราะห์ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ตลอดจนการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2.2.2 มอบหมายงานกลุ่มให้กับนักศึกษาเพื่อหาแนวทางในการวิเคราะห์ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ตลอดจนการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2.3.1 การสอบกลางภาค และการสอบปลายภาค
2.3.2 ประเมินผลผลจากงานที่มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าและคิดวิเคราะห์
2.3.3 ประเมินผลจากวิธีการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและการตอบคำถาม ชัดเจน ถูกต้อง
2.3.2 ประเมินผลผลจากงานที่มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าและคิดวิเคราะห์
2.3.3 ประเมินผลจากวิธีการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและการตอบคำถาม ชัดเจน ถูกต้อง
พัฒนาทักษะ ความคิด และการวิเคราะห์อย่างเป็นขั้นตอน เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาต่างๆและประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
3.2.1 ให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น อภิปรายหาแนวทางที่ถูกต้อง ชัดเจนร่วมกันในหัวข้อที่นำเสนอหน้าชั้นเรียน
3.2.2 การมอบหมายงานเพื่อให้ผู้เรียนฝึกทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ถูกต้องตามหลักวิชาการ
3.2.3 ให้นักศึกษาเกิดองค์ความรู้ในการเชื่อมโยงทฤษฎีร่วมกับการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งอื่นๆเพิ่มเติมเพื่อฝึกทักษะในการศึกษาหาความรู้นอกห้องเรียนด้วยตนเองสำหรับพัฒนาองค์ความรู้อย่างแท้จริงและเกิดประโยชน์อย่างสูงสุด
3.2.2 การมอบหมายงานเพื่อให้ผู้เรียนฝึกทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ถูกต้องตามหลักวิชาการ
3.2.3 ให้นักศึกษาเกิดองค์ความรู้ในการเชื่อมโยงทฤษฎีร่วมกับการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งอื่นๆเพิ่มเติมเพื่อฝึกทักษะในการศึกษาหาความรู้นอกห้องเรียนด้วยตนเองสำหรับพัฒนาองค์ความรู้อย่างแท้จริงและเกิดประโยชน์อย่างสูงสุด
3.3.1 ข้อสอบกลางภาค และข้อสอบปลายภาค
3.3.2 ประเมินผลจากการนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนและรายงานที่ได้รับมอบหมาย
3.3.2 ประเมินผลจากการนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนและรายงานที่ได้รับมอบหมาย
4.1.1 มีความรับผิดชอบต่องานที่มอบหมาย
4.1.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
4.1.3 สามารถยอมรับฟังความคิดเห็น ข้อติชมและคำแนะนำจากเพื่อนร่วมชั้นเรียนและผู้สอนได้
4.1.2 มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
4.1.3 สามารถยอมรับฟังความคิดเห็น ข้อติชมและคำแนะนำจากเพื่อนร่วมชั้นเรียนและผู้สอนได้
4.2.1 เน้นให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมภายในห้องเรียน ด้วยการประยุกต์เครื่องมือสำหรับใช้ในการฝึกการคิด วิเคราะห์ให้กับนักศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานเดี่ยวเพื่อนำเสนอหน้าชั้นเรียนและสามารถบริหารจัดการเวลาในการส่งงานตามระยะเวลาที่กำหนด
4.2.2 มอบหมายงานเดี่ยวเพื่อนำเสนอหน้าชั้นเรียนและสามารถบริหารจัดการเวลาในการส่งงานตามระยะเวลาที่กำหนด
4.3.1 ประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
4.3.2 ประเมินผลการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
4.3.2 ประเมินผลการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
5.1.1 พัฒนาทักษะความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์และนิตยสารอย่างถูกต้องตามหลักทางวิชาการ
5.1.2 พัฒนาทักษะความรู้เกี่ยวกับกระบวนการผลิตสิ่งพิมพ์และนิตยสาร
5.1.3 พัฒนาการคิด วิเคราะห์ และลำดับขั้นตอนอย่างถูกต้อง ชัดเจน
5.1.4 พัฒนาการเชื่อมโยงองค์ความรู้ทางด้านการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์และนิตยสารกับศิลปวัฒนธรรมได้อย่างชัดเจน
5.1.5 พัฒนาทักษะด้านการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและการตอบคำถามอย่างเฉลียวฉลาดและรอบรู้
5.1.2 พัฒนาทักษะความรู้เกี่ยวกับกระบวนการผลิตสิ่งพิมพ์และนิตยสาร
5.1.3 พัฒนาการคิด วิเคราะห์ และลำดับขั้นตอนอย่างถูกต้อง ชัดเจน
5.1.4 พัฒนาการเชื่อมโยงองค์ความรู้ทางด้านการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์และนิตยสารกับศิลปวัฒนธรรมได้อย่างชัดเจน
5.1.5 พัฒนาทักษะด้านการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและการตอบคำถามอย่างเฉลียวฉลาดและรอบรู้
5.2.1 บรรยาย ยกตัวอย่างสิ่งพิมพ์พิเศษและสื่อวิดีโอจากอินเตอร์เน็ตประกอบร่วมกับการนำเครื่องมือสาธิต
5.2.2 นำนักศึกษาทัศนศึกษานอกสถานที่เพื่อเพิ่มองค์ความรู้และประสบการณ์ให้กับนักศึกษา
5.2.3 มอบหมายงานเดี่ยวและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ตลอดจนการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
5.2.2 นำนักศึกษาทัศนศึกษานอกสถานที่เพื่อเพิ่มองค์ความรู้และประสบการณ์ให้กับนักศึกษา
5.2.3 มอบหมายงานเดี่ยวและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ตลอดจนการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
5.3.1 ประเมินผลจากรายงาน
5.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย
5.3.3 ประเมินจากผลการสอบกลางภาค และปลายภาค
5.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย
5.3.3 ประเมินจากผลการสอบกลางภาค และปลายภาค
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรมจริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 |
1 | 44011017 | เทคโนโลยีการออกแบบสิ่งพิมพ์ขั้นสูง |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1,2.1,3.1,5.1 | - สอบกลางภาค - สอบภาคปฏิบัติ 1, 2 - สอบปลายภาค | 9,8, 14,18 | 15% 10% 15% |
2 | 1.1,2.1,3.1, 4.1,5.1, 6.1 | - การปฏิบัติงานเดี่ยว - การปฏิบัติงานกลุ่ม ( การวิเคราะห์และอภิปรายผล การนำเสนอหน้าชั้นเรียน การส่งงานตามที่มอบหมายในแต่ละสัปดาห์ และการจัดทำ รายงานตามหัวข้อที่กำหนดได้ครบถ้วน ถูกต้อง ตรงตามเวลาที่กำหนด ) | ตลอดภาคการศึกษา | 30% 20% |
3 | 1.1,2.1,3.1,4.1,5.1 | การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย และการปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้องตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
- สุรสิทธิ์ วิทยารัฐ. การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ Printed Media ,:2549
- คนึง เพชรสมัย. การออกแบบหนังสือพิมพ์และนิตยสาร,:2541
- เอกสารการสอนชุดวิชา เทคโนโลยีก่อนพิมพ์ หน่วยที่ 1-7 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช - เอกสารการสอนชุดวิชา การออกแบบทางการพิมพ์ หน่วยที่ 1-7 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
- สุภาวดี และคณะ. เอกสารการสอนชุดวิชา การออกแบบทางการพิมพ์ หน่วยที่ 8-15 “หน่วยที่ 13 การออกแบบบรรจุภัณฑ์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545, หน้า 338-397
- อารยะ ศรีกัลยาณบุตร. เอกสารการสอนชุดวิชา การออกแบบทางการพิมพ์ หน่วยที่ 8-15 “หน่วยที่ 11 การออกแบบสิ่งพิมพ์โฆษณา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545, หน้า 220-278
- คนึง เพชรสมัย. การออกแบบหนังสือพิมพ์และนิตยสาร,:2541
- เอกสารการสอนชุดวิชา เทคโนโลยีก่อนพิมพ์ หน่วยที่ 1-7 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช - เอกสารการสอนชุดวิชา การออกแบบทางการพิมพ์ หน่วยที่ 1-7 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
- สุภาวดี และคณะ. เอกสารการสอนชุดวิชา การออกแบบทางการพิมพ์ หน่วยที่ 8-15 “หน่วยที่ 13 การออกแบบบรรจุภัณฑ์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545, หน้า 338-397
- อารยะ ศรีกัลยาณบุตร. เอกสารการสอนชุดวิชา การออกแบบทางการพิมพ์ หน่วยที่ 8-15 “หน่วยที่ 11 การออกแบบสิ่งพิมพ์โฆษณา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545, หน้า 220-278
- The all new Print Production handbook ,Brian P. Lawlel :2005
- Basic design 06,Print & Finish : Gavin Ambrose , Pual Harris: 2005
- Print Publishing Guide, Brian P. Lawler :2005
- Basic design 06,Print & Finish : Gavin Ambrose , Pual Harris: 2005
- Print Publishing Guide, Brian P. Lawler :2005
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านระบบ Social Network ที่ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านระบบ Social Network ที่ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองและแนวคิดใหม่ ๆ ในการประยุกต์ความรู้ที่ได้ศึกษากับระบบการทำงานจริง ที่มีการพัฒนาและปรับเปลี่ยนรูปแบบให้เหมาะสมกับความต้องการกับผู้ใช้มากยิ่งขึ้น
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองและแนวคิดใหม่ ๆ ในการประยุกต์ความรู้ที่ได้ศึกษากับระบบการทำงานจริง ที่มีการพัฒนาและปรับเปลี่ยนรูปแบบให้เหมาะสมกับความต้องการกับผู้ใช้มากยิ่งขึ้น