การพิมพ์สิ่งพิมพ์พิเศษ

Special Media Printing

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายสิ่งพิมพ์พิเศษ ลักษณะพิเศษของงานสิ่งพิมพ์พิเศษ วัสดุอุปกรณ์ขั้นตอนในการผลิตสิ่งพิมพ์พิเศษประเภทต่างๆ ร่วมถึงเทคโนโลยีที่ปัจจุบันมีส่วนเข้ามาช่วยในการพัฒนารูปแบบสิ่งพิมพ์พิเศษให้มากขึ้นเพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายสิ่งพิมพ์พิเศษ ลักษณะพิเศษของงานสิ่งพิมพ์พิเศษ วัสดุอุปกรณ์ขั้นตอนในการผลิตสิ่งพิมพ์พิเศษประเภทต่างๆ ร่วมถึงเทคโนโลยีที่ปัจจุบันมีส่วนเข้ามาช่วยในการพัฒนารูปแบบสิ่งพิมพ์พิเศษให้มากขึ้น
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้กับกระบวนสิ่งพิมพ์ในยุคปัจจุบัน เพื่อให้ทันยุคสมัยของเทคโนโลยี และกระบวนการที่มีความซับซ้อนมากขึ้นของเทคโนโลยีกระบวนการผลิตและวัสดุที่มากขึ้น ตลอดจนการใช้โปรแกรมซอฟแวร์ที่มีส่วนช่วยในการพัฒนาสิ่งพิมพ์มากขึ้น
ศึกษาและปฏิบัติกระบวนและเทคนิคการจัดทำสิ่งพิมพ์ลักษณะพิเศษกระบวนการผลิตต่างจากสิ่งพิมพ์ทั่วไป เช่น กระดาษทิชชู การ์ด แสตมป์ ตั๋วเข้าชมงาน เป็นต้น
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม
1.2.1 สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม โดยการอบรมหน้าห้องบางครั้งเมื่อเห็นว่านักศึกษาผิดคุณธรรมจริยธรรม
1.2.2 ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ ชี้ให้เห็นถึงความสำคัญในวิชาชีพนี้สามารถนำไปประกอบอาชีพในอนาคตได้
1.2.3 กำหนดการส่งชิ้นงานให้ตรงต่อเวลา เพื่อให้นักศึกษามีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายกำหนด
1.3.1 ประเมินจาการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
1.3.2 ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
1.3.3 ประเมินการกระทำทุจริตในการสอบ
1.3.4 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ได้รับมอบหมาย
2.1.1 มีควมรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักกการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่สอนกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 ใช้การสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและการปฏิบัติเพื่อให้เกิดองค์ความรู้
2.2.2 มอบหมายให้ค้นคว้ารายงาน งานวิจัยและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2.2.3 จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยฝึกปฏิบัติตามการทดลองโดยนักศึกษาคิดร่วมกันภายในกลุ่ม
2.2.4 จัดกิจกรรมการเรียน การสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 ข้อทดสอบด้านทฤษฎี สำหรับการปฏิบติประเมินจากผลงานและปฏิบัติการ
2.3.2 เล่มรายงานที่มอบหมาย และความสมบูรณ์ของเนื้อหา
2.3.3 ความรู้จากกิจกรรมการปฏิบัติ และนำผลการปฏิบัติงานมาสรุปผลและนำเสนอ
2.3.4 ผลงานสิ่งประดิษฐ์
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 มีความสามารถในการค้นหาความรู้ ข้อมูล และประเมินความถูกต้องด้วยตนเอง
3.2.2 มอบหมายงานที่สอดคล้องกับทฤษฎี นำไปสู่การปฏิบัติตามใบงาน
3.3.1 งานที่ส่งเสริมความคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์
3.3.2 มีการประเมินผลตามใบงานที่ได้รับมอบหมาย
4.1.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 มอบหมายงานกลุ่มสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี เพื่อให้นักศึกษาได้ร่วมช่วยกันแก้ไขปัญหาในงานที่ได้มอบหมายให้สำเร็จลุล่วง
4.2.2 มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
4.2.3 ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออกและเสนอความคิดเห็นโดยการจัดอภิปรายและเสวนางานที่ได้รับมอบหมายที่ให้ค้นคว้า
4.3.1 จากรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา
4.3.2 พฤติกรรมสภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
4.3.3 ผลจากแบบประเมินตนเองและกิจกรรมกลุ่ม
4.3.4 ผลอภิปรายและเสวนา
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการ ใช้เครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.4  ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานค้นคว้าความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ และให้นักศึกษานำเสนอหน้าชั้นเรียน
5.2.2 การใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
5.3.1 สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านความรู้ มีเหตุผลและมีการบันทึกเป็นระยะ
5.3.2 ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 44011015 การพิมพ์สิ่งพิมพ์พิเศษ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,2.1,3.1, 5.1 - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค 9 18 20% 20%
2 1.1,2.1,3.1, 4.1,5.1, 6.1 - การปฏิบัติงานเดี่ยว - การปฏิบัติงานกลุ่ม ( การวิเคราะห์และอภิปรายผล การนำเสนอหน้าชั้นเรียน การส่งงานตามที่มอบหมายในแต่ละสัปดาห์ และการจัดทำ รายงานตามหัวข้อที่กำหนดได้ครบถ้วน ถูกต้อง ตรงตามเวลา ที่กำหนด ) ตลอดภาคการศึกษา 30% 20%
3 1.1,2.1,3.1,4.1,5.1 การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย และการปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้องตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
- Klaus Finkenzeller. RFID Handbook. 2010, John wiley & Sons,Ltd.
- อรัญ หาญสืบสาย. เทคโนโลยีการพิมพ์ความก้าวหน้าและการนำไปใช้งาน. พิมพ์ครั้งที่ 1 : 2557 โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- เอกสารการสอนชุดวิชา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการพิมพ์ หน่วยที่ 1-7 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช.
- 3d Printing . CreativeCommons. 2013
- Rob Thompson. Manufacturing Processes for Design professionals.
Thames & Hudson ,2007
- เอกสารการสอนชุดวิชาวัสดุทางการพิมพ์. หน่วยที่ 8-15 , มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
- เอกสารการสอนชุดวิชาการออกแบบทางการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ หน่วยที่ 1-7 ,มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
- เอกสารการสอนชุดวิชาเทคโนโลยีการพิมพ์กระบวนการพิมพ์ หน่วยที่ 9-15 , มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 
- เอกสารประกอบการอบรมอิเล็กทรอนิกส์แบบพิมพ์ Printed Electronics เรื่อง FunctionalPrinting Application
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ