พฤติกรรมองค์การ

Organizational Behavior

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
1. เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมระดับส่วนบุคคล ที่มีผลต่อพฤติกรรมการทำงาน
2. เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมระดับกลุ่ม ที่มีผลต่อพฤติกรรมการทำงาน
3. เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมระดับองค์การ ที่มีผลต่อพฤติกรรมการทำงาน
4. เข้าใจสภาพแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในองค์การ
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการ เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในพฤติกรรมองค์การ เนื่องจากทฤษฎีหรือแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมองค์การนั้นมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาเนื่อง เพื่อที่จะทำให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ดังนั้นจะต้องมีการปรับให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในการทำงานทั้งในปัจจุบันและอนาคต
1. คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมทั้งระดับส่วนบุคคล ระดับกลุ่ม และระดับองค์การที่มีผลต่อพฤติกรรมการทำงานภายในองค์การที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยศึกษาถึงสภาพแวดล้อมทั่วไปที่จะส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในองค์การ การรับรู้ ทัศนคติ ความพึงพอใจในงาน การจูงใจ การทำงานเป็นทีม กระบวนการสื่อสาร การเป็นผู้นำ และการบริหารความขัดแย้งในองค์การ
3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีความซื่อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเองและผู้อื่น ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่นและมีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม
1.1.2 มีความกตัญญู ความเสียสละ ความอดทน ความเพียรพยายาม
1.1.3 มีความพอเพียงเป็นหลักในการดำเนินชีวิต โดยยึดแนวความคิดพอประมาณ ความมีเหตุผลและการสร้างภูมิคุ้มกัน
1.1.4 มีความเคารพต่อกฎ ระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.5 มีจิตสำนึกและมีมโนธรรมที่แยกแยะความถูกต้อง ความดี และความชั่ว
1.2.1 บรรยายเนื้อหาในบทเรียน พร้อมซักถามแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมองค์การ 1.2.2 ยกตัวอย่างปัญหาทางพฤติกรรมองค์การที่เกิดขึ้นในธุรกิจ

- 1.2.3 ตอบคำถาม และสรุปประเด็นปัญหาที่เกิดกับพฤติกรรมองค์การ
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
 
มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

นักศึกษามีความรู้เรื่องพฤติกรรมองค์การ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าในพฤติกรรมองค์การ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในการทำงานหรือในการทำธุรกิจและสามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับการทำงานได้อย่างเหมาะสม
บรรยายเนื้อหาในบทเรียน พร้อมยกตัวอย่าง ทำแบบฝึกหัด จัดกลุ่มนักศึกษาวิเคราะห์กรณีศึกษา โดยให้นักศึกษาเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ในการวิเคราะห์กรณีศึกษา

ให้นักศึกษาวิเคราะห์ และแนวทางการนำความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมองค์การไปใช้
2.3.1 ทดสอบย่อยรายหน่วย
2.3.2 การนำเสนอในชั้นเรียน
2.3.3 สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิด และใช้อย่างเป็นระบบ
3.1.3 นักศึกษาสามารถวิเคราะห์พฤติกรรมของบุคคลในองค์การ และหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น โดยใช้แนวคิดหรือความรู้ในแบบต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้
3.2.1 นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ และประยุกต์ใช้พฤติกรรมองค์การเพื่อให้เหมาะสมกับองค์การ
3.3.1 ความรู้ความเข้าใจ และการแก้ไขปัญหา
3.3.2 การนำเสนอผลการวิเคราะห์ และแนวทางการแก้ไขปัญหา
3.3.3 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน
4.1.1 มีความสามารถในการประสานงาน มีมนุษยสัมพันธ์และสามารถสร้างสัมพันธภาพอันดีกับผู้อื่นด้วยพื้นฐานความเข้าใจถึงความแตกต่างของผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างมีจิตวิทยา
4.1.2 มีความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม การประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่แลคะวามรับผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงความเป็นผู้นำที่มีความรับผิดชอบ
4.1.3 มีความกระตือรือร้นและความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความรับผิดชอบ ยอดรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งมีความเป็นผู้ตามในจังหวะที่เหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
 
4.2.1 ให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม โดยร่วมกันเสนอความคิดเห็น

4.2.2 ให้นักศึกษาออกแบบการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมายเป็นกลุ่ม
4.3.1 ให้นักศึกษาในชั้นเรียนร่วมกันประเมินผลงาน

4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 อาจารย์ประเมินผลงาน และการนำเสนอผลงาน
5.1.1 สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติและการวิเคราะห์เชิงปริมาณมาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ
5.1.2 สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.3 สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานและเทคโนโลยีระบบสารสนเทศที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน
5.1.4 สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเรียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจา
5.1.5 สามารถสื่อสารด้วยบุคลิกภาพที่น่าเชื่อถือและสามารถเลือกใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับกลุ่มบุคคลที่มีพื้นฐานและแนวคิดที่หลากหลาย
5.1.6 ความสามารถนำเทคโนโลยีไปเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนในการดำเนินงานและทราบถึงข้อจำกัดของเทคโนโลยี
5.1.7 ความสามารถนำเทคโนโลยีการสื่อสารแบบเครือข่าย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสารและดำเนินงาน
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ทางด้านบริหารธุรกิจ จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงนัวเลข การสือสาร การใช้เทคโยโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 ึ7
1 12011202 พฤติกรรมองค์การ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.5, 2.1 1.5, 2.1, สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 18 30% 30%
2 1.1-1.5, 2.1-2.3, 3.1-3.2, วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 2.1, 4.1-4.2, 5.2-5.4 รายงานประจำวิชา 18 10%
4 1.5, 2.1-2.2, 3.1, 4.1-4.2, 5.2, 5.4 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
สมยศ นาวีการ.2545.พฤติกรรมองค์การ.กรุงเทพฯ : บรรณกิจ.
สุพานี สฤษฎ์วานิช.2552.พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่ : แนวคิด และทฤษฎี.กรุงเทพ ฯ: บริษัท
ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน).
ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์.2551.พฤติกรรมองค์การ.กรุงเทพฯ.บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน).
เว๊บไซด์ วารสาร แม๊กกาซีน หนังสือพิมพ์ เอกสารที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมองค์การ
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน เพื่อระดมความคิด และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในเนื้อหา ปัญหา และการสรุปประเด็นความคิด

แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

1.3 ให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการออกแบบการนำเสนอ การทำงานกลุ่ม
 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้

สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาในการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ประเมินจากการร่วมทำกิจกรรมกลุ่ม และการนำเสนอผลงานการวิเคราะห์ของนักศึกษา

2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้

สัมมนาการจัดการเรียนการสอน ปรับปรุงเนื้อหา และตัวอย่างให้ทันสมัยอยู่เสมอ ให้นักศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชามานำเสนอ การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง