ปฏิบัติงานเครื่องล่างและส่งกำลัง

Chassis and Transmission Practice

ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับระบบรองรับ    ระบบเบรก    ระบบบังคับเลี้ยว ระบบส่ง
กําลัง  เกียรอัตโนมัติ  มุมล้อ  การบํารุงรักษา  โดยเน้นหนัก  ในด้านการ
วินิจฉัยข้อขัดข้อง  ตรวจสอบ  และการปรับแต่ง
เพื่อให้นักศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับระบบรับรอง เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจในเรื่องระบบเบรก เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับระบบบังคับเลี้ยว เพื่อให้เข้าใจการทดสอบสมบัติต่างๆ ของระบบส่งกำลัง เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจในการบำรุงรักษาโดยเน้นหนักในการวินิจฉัยข้อขัดข้องตรวจสอบและการปรับแต่ง ให้เห็นความสำคัญของคุณค่าปฏิบัติงานเครื่องล่างและส่งกำลัง
เพื่อให้สามารถศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างตัวถังรถยนต์ ระบบรองรับน้ำหนัก ระบบบังคับเลี้ยว ศูนย์ล้อ รถยนต์ ระบบเบรก ระบบส่งกำลังและเกียร์รถยนต์
1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1. มีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม รวมถึงศิลปวัฒนธรรม
2. มีวินัย  ตรงต่อเวลา และปฏิบัติตามระเบียบขององค์กร
3. มีจรรยาบรรณและความรับผิดชอบทางวิชาการและวิชาชีพ
- บรรยาย
- ฝึกปฏิบัติจริง
- การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน
- การทำกิจกรรมนอกชั้นเรียน
- การทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย
- การเข้าชั้นเรียน
- การแสดงความเคารพต่อตนเอง อาจารย์ และสถานที่
1. มีความรู้ ความเข้าใจ และประยุกต์ใช้กับงานวิศวกรรมทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ
2. สามารถบูรณาการ วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาในสาขาวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่นๆ
- บรรยาย
- ทำแบบฝึกหัด
- ทดสอบ
- การทำกิจกรรมในชั้นเรียน
- การทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย
- การเข้าชั้นเรียน
1. สามารถศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นของปัญหาและความต้องการ
2. สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
- บรรยาย
- ฝึกปฏิบัติจริง
- การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน
- การทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย
1. สามารถปรับตัว ทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ร่วมงาน
- การทำงานกลุ่ม
- การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน
- การประเมินการทำงานเป็นกลุ่ม
- การประเมินการอภิปรายและนำเสนอ
1. สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
2. สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม
- บรรยาย
- ถาม-ตอบ
- ทำแบบฝึกหัด
- การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน
- การทำงานที่ได้รับมอบหมาย
พัฒนานักศึกษาให้มีคุณธรรม จริยธรรม จริยธรรมไปพร้อม ๆ กับวิทยาการต่างๆ ที่ศึกษาเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่นและเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม สามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม รวมทั้งอาจารย์ต้องมีคุณสมบัติด้านคุณธรรมจริยธรรมอย่างน้อยดังนี้
6.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่า
6.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
6.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
6.2.1 สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเองและสังคม
6.2.2 เน้นความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและสังคม ทั้งในบทบาทของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม
6.2.3 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงาน
6.2.4 เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้อง
6.2.5 ปฏิบัติตามกฏระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม
6.2.6 ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
6.3.1 มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
6.3.2 มีการประเมินผลการทำงานในภาคทฤษฏี
6.3.3 มีความประเมิน Term Project ของนักศึกษา (ผลการเรียนรู้ข้อ 6.1,6.2)
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรมและการอนุรักษ์ศิลปะวัฒนธรรม การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมของคณะและมหาวิทยาลัย ตลอดภาคการศึกษา 10 %
2 - ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล - ความรับผิดชอบ การทำงานกลุ่มและผลงาน ตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 40 %
3 ความรู้ สอบกลางภาค 8 25 %
4 ความรู้ปฏิบัติ สอบปฏิบัติปลายภาค 17 25 %
ปฎิบัติเครื่องล่างและส่งกำลัง
1.  CD ปฎิบัติเครื่องล่างและส่งกำลัง
2.  เอกสารปฎิบัติเครื่องล่างและส่งกำลัง
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- แบบประเมินการสอนของอาจารย์โดยนักศึกษา
- สรุปผลการประเมินการสอน
- การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
- ผลการเรียนและผลการทำงานกลุ่มของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
                -การประชุมเชิงปฏิบัติการอาจารย์ผู้สอนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
                - การวิจัยชั้นเรียน
- ประชุมอนุมัติเกรดนักศึกษา
- ทวนจากคะแนน และงานที่มอบหมาย
นำข้อมูลที่ได้จากการประเมิน ข้อ ๑ และข้อ ๒ มาวางแผนเพื่อปรับปรุงคุณภาพการสอน