การทำเหมืองข้อมูล
Data Mining
1. เข้าใจเกี่ยวกับการทำเหมืองข้อมูล
2. เข้าใจการทำเหมืองข้อมูล สถาปัตยกรรมของระบบการทำเหมืองข้อมูล
3. มีทักษะในการประยุกต์ใช้อังกอริทึมการทำเหมืองข้อมูล
4. เห็นความสำคัญของการใช้งานอังกอริทึมการทำเหมืองข้อมูล
ประยุกต์ใช้อังกอริทึมการทำเหมืองข้อมูล ไปใช้งานจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการทำเหมืองข้อมูล ประเภทของข้อมูลที่ใช้การทำเหมืองข้อมูลได้คลังข้อมูล สถาปัตยกรรมของระบบการทำเหมืองข้อมูล หน้าที่การทำงานของการทำเหมืองข้อมูล การเตรียมข้อมูล การบรรยายลักษณะของข้อมูล การค้นหากฎของความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล การจำแนกประเภทข้อมูลและการทำนาย การจัดกลุ่มข้อมูล การทำเหมืองข้อมูลกับข้อมูลที่มีความซับซ้อน การประยุกต์ใช้เหมืองข้อมูล แนวโน้มของการนำเหมืองข้อมูลไปใช้งาน
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ ประมาณ 1 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น สำนึกในหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น รวมทั้งเคารพในสิทธิ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
. อาจารย์ผู้สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพในการสอน
2. กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย
3. เน้นการเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและการแต่งกายให้เป็นตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
4. การเป็นแบบอย่างที่ดีของอาจารย์
2. กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย
3. เน้นการเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและการแต่งกายให้เป็นตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
4. การเป็นแบบอย่างที่ดีของอาจารย์
1. ประเมินการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย การเข้าร่วมกิจกรรม
2. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3. ประเมินจากพฤติกรรมการเรียนและการสอบ
2. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3. ประเมินจากพฤติกรรมการเรียนและการสอบ
1. เข้าใจอังกอริทึมการทำเหมืองข้อมูล
2. สามารถประยุกต์ใช้อังกอริทึมการทำเหมืองข้อมูล
3. แสวงหาความรู้แหล่งเรียนรู้อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทำเหมืองข้อมูล
2. สามารถประยุกต์ใช้อังกอริทึมการทำเหมืองข้อมูล
3. แสวงหาความรู้แหล่งเรียนรู้อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทำเหมืองข้อมูล
1. เน้นการเรียนการสอนที่เป็น active learning
2. จัดให้มีการเรียนรู้จากฝึกหัดท้ายบท
2. จัดให้มีการเรียนรู้จากฝึกหัดท้ายบท
1. กาสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2. ประเมินจากงานที่ส่ง
2. ประเมินจากงานที่ส่ง
1. สามารถคิดวิเคราะห์การแก้ปัญหาจากอังกอริทึมการทำเหมืองข้อมูล
2. สามารถนำความรู้ ไปเชื่อมโยงกับการทำงานในข้อมูลจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. สามารถนำความรู้ ไปเชื่อมโยงกับการทำงานในข้อมูลจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. จัดกระบวนการเรียนการสอนที่ฝึกทักษะการคิด เกี่ยวกับการทำเหมืองข้อมูล
2. จัดทำแบบฝึกหัดท้ายบทเพื่อฝึกการนำอังกอริทึมการทำเหมืองข้อมูลไปใช้งาน
2. จัดทำแบบฝึกหัดท้ายบทเพื่อฝึกการนำอังกอริทึมการทำเหมืองข้อมูลไปใช้งาน
การใช้ข้อสอบหรือแบบฝึกหัดที่ให้นักศึกษาคิดแก้ปัญหา
2. การส่งงานแบบฝึกหัดท้ายบทตามกำหนดเวลา
2. การส่งงานแบบฝึกหัดท้ายบทตามกำหนดเวลา
1. สามารถคิดวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับอังกอริทึมการทำเหมืองข้อมูล
2. รับผิดชอบในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
2. รับผิดชอบในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการทำงาน
2. สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
2. สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
ประเมินความรับผิดชอบตามงานที่ได้รับมอบหมาย
2. ประเมินตามผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
2. ประเมินตามผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
ก้าวทันเทคโนโลยีปัจจุบันและสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมกับสถานการณ์ เพื่อการสืบค้น ศึกษาด้วยตนเอง นำเสนอ และสื่อสาร
จัดการเรียนการสอนที่เน้นการฝึกทักษะการเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
จัดทำแบบฝึกหัดเสริมการเรียนรู้เกี่ยวกับการทำเหมืองข้อมูล
ประเมินจากงานที่ส่ง
2. ประเมินจากผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
2. ประเมินจากผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
-
-
-
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | สอบกลางภาค | 9 | 25% | |
2 | สอบปลายภาค | 18 | 25% | |
3 | ส่งงานที่ได้รับมอบหมาย | 2-17 | 50% |
เอกสารประการสอนวิชา การทำเหมืองข้อมูล
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับการทฤษฏีการทำเหมืองข้อมูล
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้ให้นักศึกษาเข้าประเมินผลการเรียนการสอนทางเว็บไซต์
สังเกตการสอน ประเมินจากผลการประเมินผู้สอนและผลการเรียนของนักศึกษา
หลังจากได้รับผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และสรรหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา
ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะปรับปรุงการสอนในข้อ 3 และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4