อาหารท้องถิ่น

Local Food

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ  การประกอบอาหารท้องถิ่นทั้งภาคกลาง  เหนือ  อีสาน ใต้ที่เป็นที่นิยมแพร่หลายทั่วไป  จัดอาหารท้องถิ่นให้ชุดกันตามความนิยมท้องถิ่น  โดยอนุรักษ์ลักษณะอาหารท้องถิ่นในภาคนั้นๆ  การพัฒนาอาหารท้องถิ่นจังหวัดตากให้เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค
 

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ เพื่อปรับปรุงการยกตัวอย่างให้มีความทันสมัยตรงตามยุคการเปลี่ยนแปลง

 
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ  การประกอบอาหารท้องถิ่นทั้งภาคกลาง  เหนือ  อีสาน ใต้ที่เป็นที่นิยมแพร่หลายทั่วไป  จัดอาหารท้องถิ่นให้ชุดกันตามความนิยมท้องถิ่น  โดยอนุรักษ์ลักษณะอาหารท้องถิ่นในภาคนั้นๆ  การพัฒนาอาหารท้องถิ่นจังหวัดตากให้เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
    ปฏิบัติตามกฎหมาย  กฎ ระเบียบ  ข้อบังคับ และกฎเกณฑ์ของสังคม มีวินัย  ซื่อสัตย์สุจริตและมีจิตสาธารณะ มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับอาหารภาคต่างๆ ฝึกปฏิบัติทำอาหารภาคต่างๆ กำหนดให้นักศึกษาจัดสำรับอาหารแต่ละภาคที่เหมาะสมตามช่วงเวลาและโอกาส มอบหมายโครงงานอาหารที่เป็นจุดเด่นของจังหวัดตาก
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการทำการกำหนดรายการอาหารที่ได้รับมอบหมายอย่างเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการปฏิบัติอาหารตามรายการอาหารที่กำหนดขึ้น
1.3.4   ประเมินผลการนำเสนอโครงงานที่มอบหมาย
2.1.1    เข้าใจองค์ความรู้ในรายวิชาอย่างกว้างขวางเป็นระบบ
2.1.2    สามารถกำหนดรายการอาหารให้เหมาะสมในแต่ละภาค
  2.1.3    สามารถบูรณาการความรู้ทั้งในรายวิชา  และวิชาที่เกี่ยวข้องเพื่อต่อยอดองค์ความรู้
บรรยาย  ฝึกปฏิบัติงาน จัดสำรับอาหารที่กำหนดขึ้นตามความนิยมของท้องถิ่น  หลังจากฝึกปฏิบัติมีการประเมินลักษณะ  รสชาติ และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปในโครงงานและนำเสนอผลงานที่ผ่านการทดสอบโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการจัดสำรับ และฝึกปฏิบัติอาหารที่เหมาะสมสำหรับแต่ละท้องถิ่น
               พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีฝึกการจัดสำรับที่เหมาะสมตามแต่ละท้องถิ่น  สามารถทำโครงงานอนุรักษ์อาหารท้องถิ่น  สามารถบูรณาการความรู้เพื่อการศึกษาปัญหาที่ซับซ้อน  และเสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหา
3.2.1  มอบให้นักศึกษาจัดรายการอาหารที่เหมาะสมสำหรับโอกาสต่างๆแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงานอาหารท้องถิ่นแต่ละภาค
3.2.2   ฝึกปฏิบัติประกอบรายการอาหารที่เหมาะสมแต่ละท้องถิ่น
3.2.3   ให้นักศึกษาทำโครงงานตามความสนใจแต่ละท้องถิ่นแต่ละภาค  โดยศึกษาจากปราชญ์ชาวบ้าน
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการจัดรายการอาหารตามท้องถิ่นตามโอกาสและเทศกาล
3.3.2   วัดผลจากการฝึกปฏิบัติ  การนำเสนอผลงาน
3.3.3   สังเกตผลงานการนำเสนอผลงาน
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกันในการทำงานร่วมกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นกลุ่ม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   จัดทำการสำรับรายการอาหารตามท้องถิ่น  และความสนใจของบุคคลในแต่ละกลุ่ม
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น โครงงานและรายงานหน้าห้องเรียน
4.2.3   การฝึกปฏิบัติตามรายการอาหารที่จัด
4.3.1   ประเมินตนเอง
4.3.2  ประเมินจากผลการนำเสนอโครงงาน
4.3.3   ประเมินจากผลการปฏิบัติงาน    
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณปริมาณวัตถุดิบ  ปริมาณอาหารที่ได้ตามเมนูอาหารที่กำหนดขึ้น
5.1.2   พัฒนาทักษะในการฝึกปฏิบัติ
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์รายการอาหารที่เหมาะสมในสำรับอาหารแต่ละท้องถิ่นในแต่ละโอกาส
5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางที่เกี่ยวข้องกับอาหารที่เหมาะสมสำหรับโอกาสต่างๆในแต่ท้องถิ่นแต่ละภาค
5.2.1   มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ  และให้นักศึกษานำเสนอหน้าชั้น
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการฝึกปฏิบัติ
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทาางปัญญา 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 1 1 1 2 2 2 3 3 4 4 4 4 5 5 5
1 24054217 อาหารท้องถิ่น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การเตรียมความพร้อมทั้งวัสดุและอุปกรณ์ การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ด้านความรู้ โครงงาน สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 , 15 9 17 15 % 30 % 30 %
3 ด้านทักษะทางปัญญา สอบกลางภาค สอบปลายภาค ภาคปฏิบัติ 15 16 ตลอดภาคเรียน 15%
4 ด้านความสัมพันธ์ความรับผิดชอบ การสังเกตการณ์ปฏิบัติงาน ตลอดภาคเรียน -
5 ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร การบ้าน การคิดคำนวณต้นทุน ราคาขาย การรายงานหน้าห้อง 1-15 -
อำไพ  สงวนแวว.(2556)  เอกสารประกอบการสอนอาหารท้องถิ่น  คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.
อรวสุ  นพพรรค์  .ขนมไทย สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.  วับบูรพา  กรุงเทพฯ 2542
 สำนักพิมพ์แสงแดด  อาหารไทยสี่ภาค กรุงเทพฯ 2559
-
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

รายงานโครงงาน ความสนใจและตั้งใจในการทำงาน ผลการเรียนของนักศึกษา

แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ประเมินโดยระบบมหาวิทยาลัย
นำผลประเมินแต่ละด้านมาปรับปรุงการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
3.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
4.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ