การฟักไข่และการจัดการโรงฟัก

Incubation and Hatchery Management

1.1 ให้ความรู้ทางด้านการฟักไข่สัตว์ปีก เข้าใจและปฏิบัติได้เกี่ยวกับการฟักไข่สัตว์ปีกและการจัดการโรงฟักไข่
1.2 สามรถปฏิบัติงานเป็นทีมร่วมกับผู้อื่นได้
1.3 มีคุณธรรม จริยธรรม สำนึกในจรรยาของวิชาชีพ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และรับผิดชอบต่อสังคม
1.4 มีทัศนคติและเจตนคติที่ดีต่อวิชาชีพการฟักไข่สัตว์ปีก
อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกในปัจจุบันมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงหลายอย่าง ซึ่งก้าวหน้ากว่าการเรียนการสอนตามหลักสูตรเก่า ดังนั้นนักศึกษาในปัจจุบันนอกจากต้องมีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสัตว์ปีกแล้ว จะต้องตามทันวิวัฒนาการใหม่ๆที่เกิดขึ้นในวงการการผลิตสัตว์ปีกโดยเฉพาะการฟักไข่ รู้และเข้าใจผลกระทบทั้งโดยตรงและผลกระทบทางอ้อม อันเกิดจากการฟักไข่ที่ใช้วิวัฒนาการและเทคโนโลยีใหม่เพื่อใช้เป็นแนวทางในการเพิ่มผลผลิต,หาทางป้องกันและแก้ปัญหาต่อไป
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการฟักไข่สัตว์ปีกในธรรมชาติ การเจริญเติบโตของตัวอ่อนสัตว์ปีก โรงฟักและตู้ฟักไข่ การฟักไข่และการจัดการโรงฟักในระบบอุตสาหกรรม การสุขาภิบาลโรงฟักแลพตู้ฟักไข่ การจัดการของเสีย การตลาดและการจำหน่าย
Study on practice on natural poultry hatching, growth of embryo, hatchery and incubators, egg hatching and business management, sanitation of hatchery and incubator, waste management, market and distribution
1 ชั่วโมง
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. การสอนฝึกปฏิบัติการ
2. กระบวนการสืบค้น
3. การสอนในห้องปฏิบัติการ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.การนำเสนองาน
4.ข้อสอบอัตนัย
5.ข้อสอบปรนัย
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
1.การสอนแบบสาธิต
2.การสอนแบบบรรยาย
3.การสอนในห้องปฏิบัติการ
4.การสอนฝึกปฏิบัติการ
5.กระบวนการสืบค้น
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การนำเสนองาน
3.ข้อสอบอัตนัย
4.ข้อสอบปรนัย
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
การสอนฝึกปฏิบัติการ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การนำเสนองาน
3.การเขียนบันทึก
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1.การสอนฝึกปฏิบัติการ
2.การสอนโดยการอภิปรายกลุ่มแบบต่าง ๆ
3.กระบวนการสืบค้น
1.โครงการกลุ่ม
2.การนำเสนองาน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.การคำนวณอย่างง่าย
2.การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
3.การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยี สารสนเทศ
1.การนำเสนองาน
2.รายงาน
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 2. ด้านความรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
1 23024415 การฟักไข่และการจัดการโรงฟัก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2, 2.1, 2.4 สอบย่อย,สอบกลางภาคและสอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 7, 8, 15 และ17 50%
2 1.1, 1.2, 2.3, 4.1, 4.2,4.3 5.1,5.2 -การค้นคว้า -นำเสนอผลงาน -การทำงานกลุ่มและผลงาน -สรุปและวิเคราะห์ผลงานกลุ่ม -การส่งงานตามมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 40%
3 1.1, 1.3, 4.1, 4.2 5.1 การเข้าชั้นเรียน -การเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน -การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของมทร.ล้านนาพิษณุโลก ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. กรุงเทพโปรดิวส์.2542. การจัดการโรงฟักไข่. เอกสารทางวิชาการบริษัทกรุงเทพโปรดิวส์,กรุงเทพฯ.
20หน้า
2. เชิดชัย รัตนเศรษฐากุล.2529. โรคสัตว์ปีก.ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น,ขอนแก่น,279 หน้า.
3. นที นิลนพคุณ.2529. คัพภะวิทยาทางสัตวแพทย์. ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ คณะสัตวแพทย์ศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,กรุงเทพฯ.245 หน้า.
4. นุกูล เจนประจักษ์.2543. การฟักไข่.โรงพิมพ์เพทพริ้นติ้งเซ็นเตอร์,กรุงเทพฯ.119 หน้า.
5. เบทาโกร.2542. การจัดการโรงฟักไข่. เอกสารทางวิชาการชุดที่7 บริษัทเบทาโกรจำกัด,กรุงเทพฯ.
15หน้า.
6. บุญเสริม ชีวะอิสระกุลและบุญล้อม ชีวะอิสระกุล.2542. พื้นฐานสัตวศาสตร์.ภาควิชาสัตวศาสตร์
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,เชียงใหม่.186 หน้า.
7. ปฐม เลาหเกษตร.2540. การเลี้ยงสัตว์ปีก.ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ คณะ
เทคโนโลยีการเกษตรสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง,กรุงเทพ.
317 หน้า.
8. วรวิทย์ วนิชาภิชาติ.2531. ไข่และการฟักไข่. ภาควิชาสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,
สงขลา.240 หน้า.
9. สุชน ตั้งทวีวัฒน์.2542. การจัดการผลิตสัตว์ปีก. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,เชียงใหม่.287หน้า.
10.สุวรรณ เกษตรสุวรรณ.2529. ไข่และเนื้อไก่. ภาควิชาสัตวศาสตร์ศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,กรุงเทพฯ.382 หน้า.
11.สุวรรณ เกษตรสุวรรณ,วรรณดา สุจริต,ประทีป ราชแพทยาคม,สุภาพร อิสริโยดม,กระจ่าง วิสุท
ธารมณ์ และบุญธง ศิริพานิช.การเลี้ยงไก่.ภาควิชาสัตวศาสตร์ศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,กรุงเทพฯ.337 หน้า.
12.อนุชา แสงโสภณ.2539.การฟักไข่และการจัดการโรงฟัก.ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง,กรุงเทพ.
126หน้า.
13.อาวุธ ตันโช.2538.การผลิตสัตว์ปีก.ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง,กรุงเทพ.256 หน้า.
14.Blakley,J. and D.H.Bade.1979.The Science of Animal Husbandry.Reston Publishing
Company Inc.Reston, Virginis.
15.J. Wiseman, P.C. Gamsworthy.1999. Recent Developments in Poultry Nutrition 2.
Nottingham University Press, Nottingham.342 p.
16. Jull,M.A.Poultry Husbandry. TATA McGraw Hill Publishing Company Ltd. New Delhi.
17. M.Larbier and B.L.Chereq.1994. Nutrition and Feeding of Poultry Nottingham
University Press, Nottingham.305 p.
-วารสารของสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
-VCD การจัดการโรงฟักไข่ของบริษัทเอกชน
-คู่มือการจัดการฟาร์มไก่เนื้อและฟาร์มไก่พันธุ์ของบริษัทที่ผลิตสัตว์ปีกครบวงจรในประเทศไทย
-website ที่เกี่ยวกับการฟักไข่, การเจริญของตัวอ่อนไก่และสัตว์ปีกอื่น ๆ ที่สำคัญ
-website ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสัตว์ปีก
-
- การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
- การสนทนากลุ่ม, เดี่ยว ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน
- แบบประเมินผู้สอน
- ผลการสอบ
- ผลงาน จากเอกสารรายงานและการนำเสนอทั้งงานเดี่ยวและงานกลุ่ม
- ผลงานจากการทำงานกลุ่มตลอดเทอม(การเลี้ยงสัตว์ปีกที่นักศึกษาสนใจ)
- สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
- คำตอบและข้อคิดเห็นของนักศึกษาจากการถามตอบปากเปล่า
- ทวนสอบผลประเมินการสอน
- จัดวิจัยทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน
- สัมมนาจัดการเรียนการสอน
- สุ่มการตรวจสอบข้อสอบ, รายงาน, วิธีการให้คะแนน และการให้คะแนนพฤติกรรมโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน