การอนุรักษ์และการจัดการพลังงานไฟฟ้า

Electrical Energy Conservation and Management

สามารถศึกษารู้เกี่ยวกับหลักการพื้นฐานของประสิทธิภาพพลังงาน นโยบายและกฎหมาย ด้านพลังงาน มาตรฐานการจัดการพลังงาน หลักการควบคุมประสิทธิภาพ พลังงานไฟฟ้าในอาคารและโรงงานอุตสาหกรรม การคิดอัตราค่าไฟฟ้า การ จัดการภาระทางไฟฟ้า การตรวจวัดและวิเคราะห์พลังงาน เทคโนโลยีและ มาตรการประหยัดพลังงานอุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่าง อุปกรณ์มอเตอร์อุตสาหกรรม อุปกรณ์ระบบความร้อน การระบายอากาศและปรับอากาศ ระบบผลิตพลังงาน ร่วม การประเมินศักยภาพการประหยัดและผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์
2.1 เพื่อศึกษาการเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือถ่ายแบบ
2.2 เพื่อศึกษาการเกี่ยวกับเครื่องมือวัดพื้นฐาน 
2.3 เพื่อศึกษาการเกี่ยวกับเครื่องมือขนาดเล็ก 
2.4 เพื่อศึกษาการเกี่ยวกับการปฏิบัติงานปรับแต่ง 
2.5 เพื่อศึกษาการเกี่ยวกับการทำเกลียวด้วยต๊าปและดาย
2.6 เพื่อศึกษาการเกี่ยวกับคุณสมบัติและการใช้งานของโลหะทั่วๆ ไป
2.7 เพื่อศึกษาการเกี่ยวกับเครื่องมือปรับแต่งพื้นฐานอื่นๆ
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการพื้นฐานของประสิทธิภาพพลังงาน นโยบายและกฎหมาย ด้านพลังงาน มาตรฐานการจัดการพลังงาน หลักการควบคุมประสิทธิภาพ พลังงานไฟฟ้าในอาคารและโรงงานอุตสาหกรรม การคิดอัตราค่าไฟฟ้า การ จัดการภาระทางไฟฟ้า การตรวจวัดและวิเคราะห์พลังงาน เทคโนโลยีและ มาตรการประหยัดพลังงานอุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่าง อุปกรณ์มอเตอร์อุตสาหกรรม อุปกรณ์ระบบความร้อน การระบายอากาศและปรับอากาศ ระบบผลิตพลังงาน ร่วม การประเมินศักยภาพการประหยัดและผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์
สัปดาห์ละ 1 ชั่วโมง
          3.1 อาจารยประจํารายวิชา  ประกาศเวลาใหคําปรึกษาผานไลน์สาขาวิชา
          3.2  อาจารยจัดเวลาใหคําปรึกษาเปนรายบุคคล หรือรายกลุมตามความตองการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห (เฉพาะรายที่ตองการ)
1.1 ตระหนักในคุณคาและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตยสุจริต
š 1.2 มีวินัย  ตรงตอเวลา และความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม
˜ 1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง เกี่ยวกับประเด็นทางด้านจรรยาบรรณทางวิชาการ และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ที่สามารถพบได้สังคม และการทำงานปัจจุบัน
2. กําหนดใหนักศึกษาหาตัว
อยางที่เกี่ยวของ หรือกําหนดบทบาทสมมุติ
3. ทำรายงาน
1. พฤติกรรมการเขาเรียน และสงงานที่ไดรับมอบหมายตามขอบเขตที่ใหและตรงเวลา
2.มีการอางอิงเอกสารที่ไดนํามาทํารายงาน อยางถูกตองและเหมาะสม
3.ประเมินผลการวิเคราะหกรณีศึกษา
4.ประเมินผลการนําเสนอรายงานที่มอบหมาย
˜  2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜ 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
  2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย  อภิปราย การทํางานกลุม  การนําเสนอรายงาน
การวิเคราะหกรณีศึกษา และมอบหมายใหคนหาบทความ
ขอมูลที่เกี่ยวของ โดยนํามาสรุปและนําเสนอ การศึกษาโดย
ใชปญหา และเนนผูเรียน
เปนสําคัญ  
1.ทดสอบยอย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ดวยขอสอบที่เนนการวัดหลักการและทฤษฏี
2.ประเมินจากการนําเสนอผลการงานที่มอบหมาย
 ˜ 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š  3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. การมอบใหนักศึกษาทําโครงงานพิเศษที่ใหวิเคราะหและแกไขปญหา และการนําเสนอผลงาน
2. อภิปรายกลุม
1.สอบกลางภาคและปลายภาคโดยเนน
ขอสอบที่มีการวิเคราะหระบบป้องกันไฟฟ้า
2.วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนําเสนอผลงาน
3.สังเกตพฤติกรรมการแกไขปญหา
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดี
4.2  พัฒนาความเปนผูนําและผูตามในการทํางานเปนทีม
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งอย่างเหมาะสม
 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. จัดให้มีการแลกเปลี่ยนความเห็นระหว่างผู้เรียนในวิชาเรียน และการนำเสนอข้อมูลหน้าห้องเรียน
2. มอบหมายงานรายกลุ่มและ/หรือรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี
3. การนำเสนอรายงาน และการซักถาม-ตอบคำถาม
1.ประเมินตนเอง และเพื่อน ดวยแบบฟอรมที่กําหนด
2.ประเมินจากรายงานที่นําเสนอ  พฤติกรรมการทํางานเปนทีม
3.ประเมินจากรายงานการศึกษาดวยตนเอง   
5.1 ทักษะในการสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เพื่อแก้ไขปัญหา
1.มอบหมายงานหัวข้อ เทคโนโลยีสมัยใหม่ และงานวิจัยที่น่าสนใจ ให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยให้นำเสนอผ่านการทำเล่มรายงานพร้อมการนำเสนอความคิดสนับสนุน จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
1.ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนําเสนอดวยสื่อที่เหมาะสม
2.ประเมินจากการมีสวนรวมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ วิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ปฏิบัติตามรูปแบบการสอน และประยุกต์การสอนได้อย่างเหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพของกลุ่มผู้เรียนได้อย่างเหมาะสม
สนับสนุนการทำโครงงาน, การจัดนิทัศการแสดงผลงานของนักศึกษา
1.ประเมินผลงานนักศึกษา
2.สถานการณ์จำลอง
3.การสังเกต
4.การนำเสนองาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 และ 3.1 การเข้าเรียน และการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10
2 1.2, 1.3, 2.1 และ 3.1 การบ้านและงานที่มอบหมาย 3 ร้อยละ 10
3 1.1, 2.1,และ 3.1 การนำเสนอรายงาน 4 ร้อยละ 15
4 1.1, 2.1, 2.2, 3.1 และ,3.2 สอบกลางภาค 8 ร้อยละ 30
5 1.1, 2.1, 2.2, 3.1 และ,3.2 สอบปลายภาค 17 ร้อยละ 35
1.1 เอกสารประกอบการสอนรายวิชา รายวิชา 0300371/0303341การอนุรักษ์และการจัดการพลังงาน, จินดาพร จำรัสเลิศลักษณ์, 2554, 138 หน้า
1.2 เอกสารคำสอนวิชา การจัดการและอนุรักษ์พลังงาน, เดชอนันต์ โกมาสถิตย์, 2547, 296 หน้า
1.3 เทคนิคการอนุรักษ์พลังงานในโรงงานอุตสาหกรรมและกรณีศึกษา, ศิริกัลยา สุวจิตตานนท์, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์2548, 361 หน้า
2.1 เอกสารเผยแพร่ คู่มือการใช้เชื้อเพลิงอย่างมีประสิทธิภาพ หมายเลข 3 การใช้หม้อไอน้ำชนิดใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงอย่างมีประสิทธิภาพ, กรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม, 22 หน้า
2.2 เอกสารเผยแพร่ คู่มือการใช้เชื้อเพลิงอย่างมีประสิทธิภาพ หมายเลข 6 ไอน้ำ, ศูนย์ทรัพยากรฝึกอบรมเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน, กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, 2544, 78 หน้า
2 เอกสารเผยแพร่ คู่มือการใช้เชื้อเพลิงอย่างมีประสิทธิภาพ หมายเลข 8 การใช้ฉนวนสำหรับท่อร้อน, ศูนย์ทรัพยากรฝึกอบรมเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน, กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, 2544,54 หน้า
 
คู่มือการใช้เชื้อเพลิงอย่างมีประสิทธิภาพ หมายเลข 11 การจัดการพลังงานและระบบแสงสว่าง, ศูนย์ทรัพยากรฝึกอบรมเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน, กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, 2544, 30 หน้า
1.1 การสนทนากลุมระหวางผูสอนและผูเรียน
1.2 แบบประเมินผูสอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผานเว็บบอรด ที่อาจารยผูสอนไดจัดทําเปนชองทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 การสังเกตการณสอนของผูรวมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู
หลังจากผลการประเมินการสอนในขอ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาขอมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการใหคะแนนจากการสุมตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารยอื่น หรือผูทรงคุณวุฒิ ที่ไมใชอาจารยประจําหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรูของนักศึกษา โดยตรวจสอบขอสอบ รายงาน วิธีการใหคะแนนสอบ และการใหคะแนนพฤติกรรม
5.1  ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ป หรือตามขอเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามขอ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารยผูสอน เพื่อใหนักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกตความรูนี้กับปญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารยหรืออุตสาหกรรมตาง ๆ