พื้นฐานไฟฟ้า

Basic Electric

ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ในงานไฟฟ้าการต่อสาย และการเดินสายแบบต่างๆ การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในอาคารและโรงงาน
1.  มีความเข้าใจเกี่ยวเครื่องมือ และอุปกรณ์ในการติดตั้งระบบไฟฟ้าภายในอาคาร
2.  เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานในการใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ในงานไฟฟ้า
3.  เพื่อให้เข้าใจในระบบงานไฟฟ้า และการต่อสายไฟฟ้าในแบบต่างๆ
4.  เพื่อให้เข้าใจการติดตั้งชุดอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในอาคาร และโรงงานอุตสาหกรรม
5.  นำหลักการ และความรู้มาประยุกต์ใช้กับงานด้านอื่นๆได้
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานไฟฟ้าการต่อสายและการเดินสายแบบต่างๆ การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในอาคารและโรงงาน
ทุกวัน ระหว่าง 17.30 – 18.00 น.
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
˜ 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜ 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. กำหนด และตรวจสอบการเข้าชั้นเรียน และการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
2. สอดแทรกด้านคุณธรรมจริยธรรม ความอดทน การตรงต่อเวลา และความซื่อสัตย์
1.พฤติกรรมการตรงต่อเวลา ได้แก่ การเข้าเรียน และการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลา เป็นต้น
2.พฤติกรรมการปฏิบัติตัวทั้งในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียน ได้แก่ การมีสัมมาคารวะและนอบน้อม การช่วยเหลือผู้อื่น เป็นต้น
3.ประเมินผลการนำเสนองานที่มอบหมาย “ได้แก่ รายงาน การบ้าน เป็นต้น
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
˜ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜ 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
˜ 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย หรือ นำเสนอหน้าชั้นเรียน
4. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
5. กระบวนการสร้างโจทย์ปัญหาสมมติ เพื่อใช้แก้ปัญหา (Case Studies)
6. การสอนแบบบรรยาย และถาม-ตอบ
1.สถานการณ์จำลอง
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม หรืองานวิเคราะห์เดี่ยว
4.การสังเกต
5.การนำเสนองาน
6.การฝึกตีความ หรือการตีโจทย์
7.การทดสอบวัดผลโดยข้อสอบ
3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills)
˜ 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กระบวนการสร้างโจทย์ปัญหาสมมติ เพื่อใช้แก้ปัญหา (Case Studies)
2. การสอนมีการสอดแทรกการลงฝึกปฏิบัติการจริงในบางหน่วย เพื่อให้เกิดความชัดเจน
3. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
4. การสอนแบบบรรยาย และถาม-ตอบ 
1.สถานการณ์จำลอง
2.สมุดงาน และการบันทึก
3.การสังเกต
4.การนำเสนองาน
5.การฝึกตีความ
6.การทดสอบโดยใช้ข้อสอบ
7.การนำเสนอแนวคิด และข้อคิดเห็น
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
(Interpersonal Skills and Responsibility)
˜ 4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š 4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
˜ 4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. มอบหมายงานที่มีต้องมีการใช้ความร่วมมือกันภายในกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาที่ได้รับมอบหมาย
2. มีการให้แสดงความเห็นและเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาที่พบ
1. ผลงานที่ได้จากการลงปฏิบัติรายกลุ่ม/แบบฝึกปฏิบัติ
2. การแสดงความเห็น
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication and Information Technology Skills)
š 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜ 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
š 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการนำเสนอและนำมาใช้เป็นแนวทางในการแก้ปัญหา
2. การสอนโดยใช้ศัพท์ทางวิชาการในเชิงวิศวกรรมไฟฟ้า สอดแทรกในระหว่างการสอน
- ปริมาณข้อมูลการนำเสนองานและแนวคิดในการแก้ไขปัญหา ได้แก่ โจทย์ปัญหาในห้องเรียน การบ้าน งานมอบหมาย เป็นต้น
- จำนวนการสอบถามข้อสงสัยในข้อมูลที่มอบหมาย
- ความสามารถในการแก้ไขปัญหา และตอบคำถาม
6. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill) (ถ้ามี)
š 6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
˜ 6.2 มีทักษะทางด้านการสอนในสายวิชาชีพที่เด่นชัด
1. ให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม และทำการฝึกซ้อม โดยให้นักศึกษามีการแลกเปลี่ยนความรู้ในการแก่ปัญหาให้กับเพื่อนนักศึกษาด้วยกันเอง
2. มีการควบคุมระยะเวลาในการฝึกลงมือปฏิบัติงานให้แล้วเสร็จตามเวลาที่กำหนด
1. สังเกตพฤติกรรมการแนะนำเพื่อนระหว่างการปฏิบัติ
2. จับเวลาระหว่างการฝึกปฏิบัติ และทดสอบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 1.3, 1.4 1. กำหนด และตรวจสอบการเข้าชั้นเรียน และการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 2. สอดแทรกด้านคุณธรรมจริยธรรม ความอดทน การตรงต่อเวลา และความซื่อสัตย์ ทุกสัปดาห์ 5%, 5%
2 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3, 4.4 6.1, 6.2 1. กระบวนการสร้างโจทย์ปัญหาสมมติ เพื่อใช้แก้ปัญหา (Case Studies) 2. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย หรือ นำเสนอหน้าชั้นเรียน 3 การสอนแบบบรรยาย และถาม-ตอบ 4. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) 5. การทดสอบวัดผลโดยข้อสอบปฏิบัติงาน ทุกสัปดาห์ 10% 5% 5% 5% 55%
3 5.1, 5.2, 5.3 การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการนำเสนอและนำมาใช้เป็นแนวทางในการแก้ปัญหา ทุกสัปดาห์ 10%
   - ลือชัย ทองนิล “การออกแบบและติดตั้งระบบไฟฟ้าตามมาตรฐานของการไฟฟ้า”
   - วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย. “คู่มือมาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย ปี พ.ศ. 2555”.
           - เอกสารทั่วไปเกี่ยวกับงานด้านพื้นฐานไฟฟ้า
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
1.  กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
1.1 แบบประเมินผู้สอน
1.2 ปริมาณการสอบถามจากนักศึกษาทั้งใน-นอกเวลาเรียน
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน:
2.1 สังเกตการสอนโดยกรรมการประจำหลักสูตร
2.2 ประเมินจากผลการประเมินผู้สอนและผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินผลการเรียนรู้
ภายหลังจากได้รับผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอน โดยกคณะกรรมการประจำหลักสูตรร่วมกับผู้สอน
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา:
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ประจำหลักสูตรอื่น ภายในหรือภายนอกคณะวิศวกรรมศาสตร์หรือกรรมการประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์ พิษณุโลก
5.1 ระยะยาว นำเสนอรายงานสรุปผลการจัดการเรียนการสอนในแต่ละวิชาตาม มคอ.๓, มคอ.๔, มคอ.๕, มคอ.๖ และ มคอ.๗ ให้คณะกรรมการกลางของคณะวิศวกรรมศาสตร์ เพื่อนำไปใช้เป็นพื้นฐานในการปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี
5.2 ระยะสั้น นำผลจากข้อมูลใน มคอ.๓, มคอ.๔, มคอ.๕, มคอ.๖ และ มคอ.๗ ในรอบปีการศึกษาที่ผ่านมา มาทำการปรับปรุงรายละเอียดหรือเนื้อหาการเรียนการสอนเพื่อให้รองรับกับสภาพการณ์ และนำเสนออาจารย์ประจำรายวิชานั้นในการนำไปใช้จัดการเรียนการสอน