การทำเหมืองข้อมูล

Data Mining

1. เข้าใจเกี่ยวกับการทำเหมืองข้อมูล
2. เข้าใจการทำเหมืองข้อมูล สถาปัตยกรรมของระบบการทำเหมืองข้อมูล
3. มีทักษะในการประยุกต์ใช้อังกอริทึมการทำเหมืองข้อมูล
4. เห็นความสำคัญของการใช้งานอังกอริทึมการทำเหมืองข้อมูล
ประยุกต์ใช้อังกอริทึมการทำเหมืองข้อมูล ไปใช้งานจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการทำเหมืองข้อมูล ประเภทของข้อมูลที่ใช้การทำเหมืองข้อมูลได้คลังข้อมูล สถาปัตยกรรมของระบบการทำเหมืองข้อมูล หน้าที่การทำงานของการทำเหมืองข้อมูล การเตรียมข้อมูล การบรรยายลักษณะของข้อมูล การค้นหากฎของความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล การจำแนกประเภทข้อมูลและการทำนาย การจัดกลุ่มข้อมูล การทำเหมืองข้อมูลกับข้อมูลที่มีความซับซ้อน การประยุกต์ใช้เหมืองข้อมูล  แนวโน้มของการนำเหมืองข้อมูลไปใช้งาน
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ ประมาณ 1 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีวินัย  ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น สำนึกในหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น รวมทั้งเคารพในสิทธิ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
1. อาจารย์ผู้สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพในการสอน
2. กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย
3. เน้นการเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและการแต่งกายให้เป็นตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
4. การเป็นแบบอย่างที่ดีของอาจารย์
1. ประเมินการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย การเข้าร่วมกิจกรรม
2. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3. ประเมินจากพฤติกรรมการเรียนและการสอบ
1.   เข้าใจอังกอริทึมการทำเหมืองข้อมูล
2.   สามารถประยุกต์ใช้อังกอริทึมการทำเหมืองข้อมูล
3.   แสวงหาความรู้แหล่งเรียนรู้อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทำเหมืองข้อมูล
1. เน้นการเรียนการสอนที่เป็น active learning
2. จัดให้มีการเรียนรู้จากฝึกหัดท้ายบท
1.  กาสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.  ประเมินจากงานที่ส่ง
1. สามารถคิดวิเคราะห์การแก้ปัญหาจากอังกอริทึมการทำเหมืองข้อมูล
2.   สามารถนำความรู้ ไปเชื่อมโยงกับการทำงานในข้อมูลจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วิธีการสอน

1.  จัดกระบวนการเรียนการสอนที่ฝึกทักษะการคิด เกี่ยวกับการทำเหมืองข้อมูล
2.  จัดทำแบบฝึกหัดท้ายบทเพื่อฝึกการนำอังกอริทึมการทำเหมืองข้อมูลไปใช้งาน
การใช้ข้อสอบหรือแบบฝึกหัดที่ให้นักศึกษาคิดแก้ปัญหา

การส่งงานแบบฝึกหัดท้ายบทตามกำหนดเวลา
1.   สามารถคิดวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับอังกอริทึมการทำเหมืองข้อมูล
2.   รับผิดชอบในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
1.  จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการทำงาน
2.  สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
ประเมินความรับผิดชอบตามงานที่ได้รับมอบหมาย

2.    ประเมินตามผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
 ก้าวทันเทคโนโลยีปัจจุบันและสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมกับสถานการณ์ เพื่อการสืบค้น ศึกษาด้วยตนเอง นำเสนอ และสื่อสาร
จัดการเรียนการสอนที่เน้นการฝึกทักษะการเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จัดทำแบบฝึกหัดเสริมการเรียนรู้เกี่ยวกับการทำเหมืองข้อมูล
ประเมินจากงานที่ส่ง

ประเมินจากผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9, 18 25%, 25%
2 ส่งงานที่ได้รับมอบหมาย 2-17 50%
เอกสารประการสอนวิชา การทำเหมืองข้อมูล
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับการทฤษฏีการทำเหมืองข้อมูล
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้ให้นักศึกษาเข้าประเมินผลการเรียนการสอนทางเว็บไซต์
สังเกตการสอน ประเมินจากผลการประเมินผู้สอนและผลการเรียนของนักศึกษา
หลังจากได้รับผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และสรรหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา
ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะปรับปรุงการสอนในข้อ 3 และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4