โครงงานระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์

Computer Information Systems Project

1. ใช้ความรู้รวบยอดที่ได้เรียนมาและศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเพื่อการทำการวิจัยด้านคอมพิวเตอร์หรือด้านระบบสารสนเทศ
2. เสนอหัวข้อโครงงานตามความเห็นชอบของคณะกรรมการ
3. ศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบ
4. ทดสอบและปรับปรุงระบบตามความต้องการของผู้ใช้ระบบ
5. ติดตั้งระบบเพื่อประเมินผลการใช้ระบบ
6. รายงานผลการวิจัยของโครงงานต่อคณะกรรมการ
เพื่อให้สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ในหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์
ใช้ความรู้รวบยอดที่ได้เรียนมาและศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ทำการค้นคว้าวิจัยหัวข้อและเนื้อหา โดยเลือกหัวข้อโครงงานทางด้านคอมพิวเตอร์หรือทางด้านระบบสารสนเทศ จากหัวข้อโครงงานที่กรรมการหลักสูตรพิจารณา หรือนักศึกษากำหนดขึ้นโดยความเห็นชอบของกรรมการหลักสูตร นักศึกษาจะต้องเขียนรายงานและเสนอต่อคณะกรรมการที่แต่งตั้งขึ้นโดยหัวหน้าหลักสูตรจำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
- อาจารย์ประจำวิชาให้คำปรึกษาผ่านทางเว็บไซต์ และ ระบบสังคมออนไลน์
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ ประมาณ 1 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
- มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม - มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและ ลำดับความสำคัญ
- กล่าวถึงมารยาท การมีวินัย และความตรงต่อเวลาในการเรียนรู้ร่วมกัน
- บอกถึงผลดีของการมีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
- ชี้แนะการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี เพื่อให้สามารถทำงานเป็นทีมได้ รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อ ขัดแย้งได้
- ให้ข้อคิดในการพิจารณาความสำคัญของลำดับงานตามความเหมาะสมและระยะเวลา
- ความประพฤติของนักศึกษาและพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักศึกษา
- การแสดงความคิดเห็นของนักศึกษาในการวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์
- ความตรงต่อเวลาในการส่งผลงานของนักศึกษา
- มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
- สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
- รู้ เข้าใจ และสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
- อธิบายการเขียนหลักการและทฤษฎีในการทำโครงงานเพื่อการวิจัย
- ยกตัวอย่างการทำวิจัยด้านสารสนเทศ
- ให้นักศึกษาเสนอโครงงานตามที่ตนสนใจ
- ฝึกปฏิบัติการทำโครงงานและการนำเสนอโครงงานตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ
- ให้นักศึกษาจัดทำรายงานประกอบโครงงาน
การนำเสนอโครงการ
การจัดทำรายงานประกอบโครงงาน
- คิดอย่างมีวิจารณญาณและคิดอย่างเป็นระบบ
- สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
- สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
- สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
- อธิบายความสำคัญในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและคิดอย่างเป็นระบบในทำโครงงาน
- ชี้แนะเว็บไซต์สำหรับการสืบค้นการวิจัยด้านระบบสารสนเทศ
- ให้แนวทางในการจัดทำโครงงาน โดยการรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการของระบบงาน
- แสดงความคิดเห็นในโครงงานที่นักศึกษาได้นำเสนอ เพื่อประเมินสารสนเทศถึงจุดเด่นและข้อควรแก้ไข
- ผลการสืบค้นระบบสารสนเทศที่ได้นำเสนอในโครงงาน
- การพัฒนาระบบงาน
- การซักถาม โดยให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นเพื่ออธิบายข้อซักถาม และแสดงถึงปฏิภาณไหว
- สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
- สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
- มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
- ให้นักศึกษาเรียนรู้จริงจากนำเสนอโครงงานในรูปแบบของการสัมมนา
- ชี้แนะการพูดและการใช้วาจาในที่ชุมชน รวมทั้งบุคลิกที่เหมาะสมในการนำเสนอ
- กำหนดหัวข้อในการจัดทำโครงงาน เพื่อให้นักศึกษาได้จัดทำโครงงานและฝึกซ้อมการนำเสนอตามกำหนด
- ให้นักศึกษาเรียนรู้จริงจากนำเสนอโครงงานในรูปแบบของการสัมมนา
- ชี้แนะการพูดและการใช้วาจาในที่ชุมชน รวมทั้งบุคลิกที่เหมาะสมในการนำเสนอ
- กำหนดหัวข้อในการจัดทำโครงงาน เพื่อให้นักศึกษาได้จัดทำโครงงานและฝึกซ้อมการนำเสนอตามกำหนด
- สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อสารการนำเสนออย่างเหมาะสม
- สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
- อธิบายการจัดทำงานนำเสนอและรายงานการนำเสนอ
- นำเสนอซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการออกแบบงานนำเสนอ
- การใช้เทคโนโลยีสื่อสาร - ยกตัวอย่างงานนำเสนอที่เหมาะสม
- การออกแบบงานนำเสนอ
- การจัดทำรายงานนำเสนอ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4
1 12031414 โครงงานระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2 2.1 3.1, 3.3 4.1 , 4.4 5.3 - ข้อมูลที่ได้ศึกษาจากระบบงาน - แบบฟอร์มเสนอหัวข้อและอาจารย์ที่ปรึกษา - แบบฟอร์มการติดต่อเพื่อขอความอนุเคราะห์ข้อมูล 1-2 8%
2 1.2, 1.3 2.1, 2.2 3.1, 3.2, 3.3 4.1, 4.4 5.1, 5.3, 5.4 - ความพร้อมในการเสนอโครงร่าง - การนำเสนอโครงร่าง - การจัดทำรายงานโครงร่าง 3-5 20%
3 1.3 2.1, 2.2, 2.5 3.1, 3.2, 3.4 4.2, 4.4 5.1, 5.4 - การดำเนินงานในการพัฒนาระบบ 6-9 20%
4 1.2, 1.3 2.2, 2.5 3.1, 3.4 4.1, 4.4 5.1, 5.3, 5.4 - ความพร้อมในการเสนอความก้าวหน้าโครงงาน - การนำเสนอความก้าวหน้าโครงงาน - การจัดทำรายงานความก้าวหน้าโครงงาน 10% 10 %
5 1.2, 1.3 2.1 3.1, 3.3 4.1, 4.2, 4.4 5.3 - การสร้างเครื่องมือในการวิจัย - การสุ่มตัวอย่าง - วิธีการเก็บข้อมูล 13 5 %
6 1.2, 1.3 2.1, 2.5 3.1, 3.4 4.1, 4.4 5.1, 5.3, 5. - ความพร้อมในการเสนอผลสรุปโครงงาน - การนำเสนอความผลสรุปโครงงาน - การจัดทำรายงานผลสรุปโครงงาน 14 – 16 20 %
ปริญญานิพนธ์ เอกสารการสัมมนาทางคอมพิวเตอร์ และงานวิจัยทางด้านคอมพิวเตอร์
โปรแกรมสำหรับพิมพ์เอกสาร โปรแกรมสำหรับการนำเสนอ โปรแกรมออกแบบฐานข้อมูล โปรแกรมสำหรับวางแผนโครงการ โปรแกรมทางคอมพิวเตอร์กราฟิก
ฐานข้อมูลวิจัยอิเล็กทรอนิกส์
- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
- มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- มหาวิทยาลัยศิลปกร
- มหาวิทยาลัยนเรศวร
- พฤติกรรมการร่วมแสดงความคิดเห็น
- แบบประเมินผู้สอน
- โครงงานระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์ที่นักศึกษาได้พัฒนาและทำวิจัย
- รายงานโครงงานระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์
- ศึกษาและปรับเปลี่ยนซอฟต์แวร์สำหรับพัฒนาระบบงานให้สอดคล้องกับธุรกิจจริง และ ตลาดแรงงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
- ศึกษาแนวงานวิจัยทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในแต่ละปี
- ตรวจสอบแผนการสอนและการประเมินผลให้ตรงกับผลสัมฤทธิ์จากผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
- ปรับปรุงรายวิชาทุกปี ตามข้อเสนอแนะและข้อแนะนำในกระบวนการสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ รายวิชา