การปฏิบัติวิชาชีพ

Professional Practice

1.1 เข้าใจกระบวนการปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรมภายใน ได้แก่ขั้นตอนการออกแบบ การติดต่อและการเสนองาน หลักการออกแบบและเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน การประสานงานกับผู้เกี่ยวข้องในการทำงาน การควบคุมและตรวจรับงานก่อสร้าง
1.2 เข้าใจข้อกำหนดตามมาตรฐานวิชาชีพ พันธกรณีต่อสังคม ลูกค้า อย่างมีจรรยาบรรณวิชาชีพ ตามระเบียบข้อบัญญัติทางกฏหมาย และสภาวิชาชีพ
เพื่อพัฒนาลำดับเนื้อหาการสอน รายละเอียดเนื้อหาการสอน ให้ครบถ้วนและทันสมัย ปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหา และ สามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรมภายใน
ศึกษากระบวนการปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรมภายใน การบริการวิชาชีพ แนวทางการดำเนินการร่วมกันระหว่างผู้ประกอบวิชาชีพอื่นที่เกี่ยวข้อง ศึกษาข้อกำหนดวินัยตามมาตรฐานวิชาชีพ อย่างมีจรรยาบรรณวิชาชีพ ให้เป็นไปตามระเบียบข้อบัญญัติทางกฎหมาย และพันธกรณีต่อสาธารณะ ลูกค้า และสภาวิชาชีพ
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเรื่องการวัดและประเมินผลการเรียนในชั่วโมงแรก
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม


คำนึงถึงผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางสถาปัตยกรรมภายใน ต่อบุคคล องค์กร และสิ่งแวดล้อม ตระหนักถึงจรรยาบรรณทางวิชาการ และวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึงเข้าใจบริบททางสังคมของวิชาชีพสถาปัตยกรรม แต่ละสาขา ตั้งแต่อดีต ถึงปัจจุบัน
อบรมนศ.ด้านคุณธรรม จริยธรรม นักศึกษาเรียนรู้จากสถาปนิกวิชาชีพที่รับเชิญเป็นวิทยากร กรณีศึกษาด้านคุณธรรม จริยธรรมมาถ่ายทอด . มอบหมายงานกลุ่มเพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม
สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาในชั้นเรียน พฤติกรรมการเข้าเรียน การส่งงาน การดูแลห้องเรียนและสภาพแวดล้อม การทดสอบเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม พฤติกรรมการทำงานนักศึกษาเรียนรู้จากสถาปนิกวิชาชีพ
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจด้านทฤษฎีในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2.2 มีความรอบรู้ในสาขาวิชาชีพสถาปัตยกรรมภายในและศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 บรรยาย อภิปราย จำลองสถานการณ์ สอบถามเพื่อทบทวนความรู้
2.2.2 มอบหมายงานกลุ่ม
2.2.3 สอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบวัดความรู้ ความเข้าใจในหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ผลงานที่มอบหมายมีความรู้เข้าใจเกี่ยวกับวิชาชีพ
2.3.3 การอภิปราย รายงานในชั้นเรียน และการนำเสนอผลงานสามารถบูรณาการความรู้ที่ได้ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
3.1.3 มีทักษะในการรวบรวมองค์ความรู้ สามารถวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในการแก้ปัญหา และพัฒนาต่อยอด
3.1.4 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 บรรยายโดยเน้นการสร้างความเข้าใจ และกระตุ้นให้นักศึกษาร่วมคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล
3.2.2 อภิปรายร่วมกับสถาปนิกวิชาชีพที่ได้รับเชิญเป็นวิทยากรเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและพัฒนาปัญญา
3.2.3 มอบหมายงานที่ต้องค้นคว้าและวิเคราะห์ร่วมกัน
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่วัดความเข้าใจ การคิดวิเคราะห์เชิงเหตุผล
3.3.2 ผลงานที่นำเสนอมีองค์ความรู้ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้
4.1.1 มีความรับผิดชอบทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัว ให้ทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม
4.1.2 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ สามารถใช้ความรู้ในวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.3 สร้างจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงานการรักษาสื่งแวดล้อม ตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
4.2.1 แบ่งกลุ่มร่วมอภิปราย เพื่อพัฒนาบทบาทผู้นำและผู้ตาม
4.2.2 มอบหมายงานกลุ่ม เพื่อพัฒนาความสัมพันธ์และความรับผิดชอบของนักศึกษา
4.3.1 สังเกตพฤติกรรมการศึกษาและการอยู่ร่วมกันของนักศึกษาในชั้นเรียน
4.3.2 ประเมินภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามจากการทำงานกลุ่มที่มอบหมาย
4.3.3 ประเมินการทำงานเป็นทีมจากงานกลุ่มที่มอบหมาย
5.1.1 มีทักษะการสื่อสารสามารถถ่ายทอดความรู้และนำเสนอผลงาน ทั้งการพูดเขียน และใช้สื่ออื่นๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจ
5.2.1 ฝึกทักษะการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
5.3.1 ประเมินทักษะนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน ผลงานและสื่อนำเสนองาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 3. ทักษะทางปัญญา 5. ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1.1 คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา 2.1 ความรู้ ที่ต้องได้รับ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 4.1.1 มีความรับผิดชอบทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัว ให้ทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม 4.1.3 สร้างจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงานการรักษาสิ่งแวดล้อม ตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 3.1.1 สามารถวิเคราะห์เชื่อมโยง และทำความเข้าใจอย่างเป็นเหตุเป็นผล โดยบูรณาการ ความรู้ในหลายๆด้าน และสังเคราะห์แนวคิด เพื่อออกแบบและหรือสร้างสรรค์ตามกระบวนการทำงาน 3.1.2 สามารถคิดอย่างสร้างสรรค์ ประกอบด้วยจินตนาการ แก้ไขปัญหาในการออกแบบที่ซับซ้อนได้ หรือเสนอแนวทางการแก้ปัญหา ที่ประสานประโยชน์ใช้สอย ความงาน เทคโนโลยี บริบทสังคมเข้าด้วยกัน 3.1.3 มีทักษะในการรวบรวมองค์ความรู้ สามารถวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในการแก้ปัญหา และพัฒนาต่อยอด 3.1.4 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 5.1.3 มีทักษะการสื่อสารสามารถถ่ายทอดความรู้และนำเสนอผลงาน ทั้งการพูดเขียน และใช้สื่ออื่นๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจ 1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.1.4 คำนึงถึงผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางสถาปัตยกรรมภายใน ต่อบุคคล องค์กร และสิ่งแวดล้อม 1.1.5 ตระหนักถึงจรรยาบรรณทางวิชาการ และวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึงเข้าใจบริบททางสังคมของวิชาชีพสถาปัตยกรรม แต่ละสาขา ตั้งแต่อดีต ถึงปัจจุบัน 2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจด้านทฤษฎีในเนื้อหาที่ศึกษา 2.1.2 มีความรอบรู้ในสาขาวิชาชีพสถาปัตยกรรมภายในและศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 2.1.3 มีความรู้ ความเข้าใจในศาสตร์ด้านเทคโนโลยี เพื่อใช้ในการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน 2.1.4 มีความรู้ ความเข้าใจในทฤษฏีศาสตร์ทางศิลปะ และสถาปัตยกรรมล้านนา 2.1.5 สามารถค้นคว้าหาข้อมูล และนำหลักการ ทฤษฏี และความรู้อื่นๆเข้ามาสร้างแนวทาง และ แก้ไขปัญหาในการปฏิบัติวิชาชีพอย่างเหมาะสม
1 42024403 การปฏิบัติวิชาชีพ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม 1 สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาในชั้นเรียน 2 พฤติกรรมการเข้าเรียน การส่งงาน การดูแลห้องเรียนและสภาพแวดล้อม 3 การทดสอบเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม 4 พฤติกรรมการทำงานนักศึกษาเรียนรู้จากสถาปนิกวิชาชีพ ตลอดภาคการศึกษา 1,2 ตลอดภาคการศึกษา 3,4 สัปดาห์ที่ 13-16 20%
2 ความรู้ 1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบวัดความรู้ ความเข้าใจในหลักการและทฤษฏี 2 ผลงานที่มอบหมายมีความรู้เข้าใจเกี่ยวกับวิชาชีพ 3 การอภิปราย รายงานในชั้นเรียน และการนำเสนอผลงานสามารถบูรณาการความรู้ที่ได้ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 9,12,17 2 3 4 30%
3 ทักษะทางปัญญา 3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่วัดความเข้าใจ การคิดวิเคราะห์เชิงเหตุผล 3.3.2 ทดลองทำข้อสอบเพื่อขอใบประกอบวิชาชีพ 3.3.3 ผลงานที่นำเสนอมีองค์ความรู้ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ 9,12,17 20%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่งบุคคลและความรับผิดชอบ 1 สังเกตพฤติกรรมการศึกษาและการอยู่ร่วมกันของนักศึกษาในชั้นเรียน 2 ประเมินภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามจากการทำงานกลุ่มที่มอบหมาย 3 ประเมินการทำงานเป็นทีมจากงานกลุ่มที่มอบหมาย 13 14 15 16 20%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิง การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองาน 16 10%
เอกสารประกอบวิชา การปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรม รศ.วีระ บูรณากาญจน์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พฤษภาคม 2529


การปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรม รศ.อวยชัย วุฒิโฆสิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พฤษภาคม 2544


คู่มือสถาปนิก สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมป์ 2537 กฎหมายอาคาร เล่ม 1-2 อาษา สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมป์
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น
htpp://www.asa.or.th/
htpp://www.winyou.net/
htpp://th.youtube