นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

Innovation and Information Technology for Educational

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และปฏิบัติ เกี่ยวกับความหมายและความสำคัญ หลักทฤษฎี พื้นฐานของนวัตกรรม การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา  วิเคราะห์ปัญหากระบวนการสื่อสาร การจัดกระบวนการสอน ประเภทสื่อพื้นฐานและสื่ออิเล็กทรอนิกส์ แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ การผลิต การใช้สื่อและการพัฒนานวัตกรรมในการเรียนรู้ ปฏิบัติการผลิตสื่อการสอน การหาประสิทธิภาพสื่อการสอน เพื่อประเมินและการปรับปรุงนวัตกรรม
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับความหมายของความหมายและความสำคัญ หลักทฤษฎี พื้นฐานของนวัตกรรม การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 2. เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักประเภทสื่อพื้นฐานและสื่ออิเล็กทรอนิกส์ แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ การผลิต การใช้สื่อและการพัฒนานวัตกรรมในการเรียนรู้ 
3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ปัญหากระบวนการสื่อสาร การจัดกระบวนการสอน
4. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถปฏิบัติการผลิตสื่อการสอน การหาประสิทธิภาพสื่อการสอน เพื่อประเมินและการปรับปรุงนวัตกรรม
5. เพื่อให้ผู้เรียนมีทัศนคติที่ดี และเห็นคุณค่าของวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา  สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานในวิชาชีพได้
ศึกษาและปฏิบัติ เกี่ยวกับความหมายและความสำคัญ หลักทฤษฎี พื้นฐานของนวัตกรรม การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา  วิเคราะห์ปัญหากระบวนการสื่อสาร การจัดกระบวนการสอน ประเภทสื่อพื้นฐานและสื่ออิเล็กทรอนิกส์ แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ การผลิต การใช้สื่อและการพัฒนานวัตกรรมในการเรียนรู้ ปฏิบัติการผลิตสื่อการสอน การหาประสิทธิภาพสื่อการสอน เพื่อประเมินและการปรับปรุงนวัตกรรม
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะ รายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล นำเอาความรู้ความสามารถที่ศึกษาไปใช้ประโยชน์สูงสุด โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม

1.1.6 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายและปฏิบัติงานตามที่มอบหมาย 

              2 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง อภิปรายกลุ่ม การนำเสนอ เน้นสอนเป็นกลุ่ม  กิจกรรม
              3.ปฏิบัติงานตามใบงานที่มอบหมาย 
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
1.3.5   ประเมินคะแนนจากใบงานที่มอบหมาย
      มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมของคอมพิวเตอร์  โปรแกรม Macromedia Flash   และ  Google Sketch up  สามารถนำความรู้ ของโปรแกรมดังกล่าวมาประยุกต์ใช้งานในการเรียนการสอนได้
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา  และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล 
2.3.3   การนำเสนองานที่มอบหมาย
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น  
3.2.1   การมอบให้นักศึกษา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.2.3   ลงมือปฏิบัติงานตามใบประลองที่กำหนด
3.2.4   อภิปรายและสรุปผล
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  สอบปฏิบัติ
3.3.2   การนำเสนอผลงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตาม
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน  อภิปราย สรุปผล
4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
4.3.4  งานที่รับมอบหมาย
5.1.1   ทักษะการคิดเชิงความเป็นครู
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นจากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
  2.6.1.1  มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2.6.1.2    สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ปฏิบัติตามรูปแบบการสอน ประยุกต์วิธีการสอนใด้อย่างเหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพของกลุ่มผู้เรียนได้เป็นอย่างเหมาะสม
 
                           2.6.2.1       สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
                           2.6.2.2    สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ
                           2.6.2.3    สนับสนุนการเข้าประกวดทักษะด้านการปฏิบัติ
                           2.6.2.4    จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา
                           2.6.2.5    สนับสนุนการทำโครงงาน
                           2.6.2.6    การปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู
 
                           2.6.3.1  มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
                           2.6.3.2    มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน
                           2.6.3.3    มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ
                           2.6.3.4    มีการประเมินโครงงานนักศึกษา
                                2.6.3.5    มีการประเมินนักศึกษาการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขฯ ุ6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 30021101 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 บทที่ 4 บทที่ 1-3 บทที่ 5-8 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค 7 9 17 10 20 20
2 บทที่ 2-8 ในประลอง1-5 รายงานผลการประลอง ค้นคว้า การนำเสนอ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 40
3 บทที่ 1-8 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน/บันทึกงาน ตลอดภาคการศึกษา 10
ณาตยา ฉาบนาค. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : บริษัท เอส.พี.ซี บุ๊คส์ จำกัด, 2545.
ณาตยา ฉาบนาค. คอมพิวเตอร์เบื้องต้น : ระบบเครือข่ายและอินเทอร์เน็ต. กรุงเทพฯ : บริษัท เอส.พี.ซี บุ๊คส์ จำกัด, 2545.
เติมศักดิ์ ทองอินทร์ ผศ.ดร.. เรียนรู้และใช้งานคอมพิวเตอร์ทางลัด. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2550.
ยุทธชัย  รุจิรวิมล.  Macromedia  Flash.  พิมพ์ครั้งที่6  กรุงเทพฯ : บริษัทซัคเซส  มีเดีย,
ล้วน  สายยศ และอังคณา  สายยศ. (2538). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา.  พิมพ์ครั้งที่ 5.
กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาส์น.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา     
                   http://elecpnt.rmutl.ac.th/index.php?option=com_content&vie
    http://edu.kru.ac.th/ICT/index.php?option=com_content&view
   http://elecpnt.rmutl.ac.th
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอน จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สอนโดยเน้นกลุ่มผู้เรียน แบ่งทำกิจกรรมกลุ่ม
3.2   แยกสอนรายบุคคล  สอนโดยเพื่อนช่วยเพื่อน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในรายวิชานั้น
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ