ออกแบบแสงสว่าง

Lighting Design

1.1 เพื่อศึกษาระบบการให้แสงสว่างในอาคารประเภทต่างๆ
1.2 เพื่อศึกษาลักษณะธรรมชาติของแหล่งกำเนิดแสง ทิศทางของแสง
1.3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถการออกแบบและเขียนผังไฟฟ้า โดยคำนึงถึงประโยชน์ใช้สอย ความงามและความสัมพันธ์ระหว่างแสงและสี
เพื่อให้เกิดความทันสมัยเกี่ยวกับเนื้อหาวิชา และให้นักศึกษาสามารถค้นคว้าหาข้อมูลด้วยตัวเอง ได้อย่างกว้างขวาง 
ศึกษาระบบการให้แสงสว่างในพื้นที่ประเภทต่างๆ หลักการออกแบบแสงสว่าง แนวคิด หลักการของงาน สถาปัตยกรรมภายใน โดยคำนึงถึงประโยชน์ใช้สอย ความงามและความสัมพันธ์ระหว่างแสงและสี
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาในชั้นเรียน
-   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล ต่อนักศึกษาสัปดาห์ละ 2ชั่วโมง /สัปดาห์
1.1.1 มีวินัย ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม
1.2.1 บรรยาย ให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูล นำเสนอแนวทาง การออกแบบและการตระหนักถึงการประหยัดพลังงาน ในการใช้ให้เหมาะสม
1.2.2 ฝึกปฏิบัติการทำงานเป็นกลุ่ม
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 การสอบวัดประเมินผลและการประเมินจากผลงานการบ้าน
 2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎี และหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 บรรยายพร้อมอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
2.2.2 ให้ค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อนำเสนอ
2.2.3 ให้ทดลองทำการออกแบบแสงสว่าง
2.3.1 การนำเสนอผลงาน การสอบกลางภาค และปลายภาค
2.3.2  ผลงาน การบ้าน และรายงาน
2.3.3  ประเมินความรู้จากผลงานการออกแบบของนักศึกษา
 3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
 
3.2.1 บรรยายโดยเน้นการสร้างความเข้าใจ และกระตุ้นให้นักศึกษาร่วมคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล
3.2.2 อภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและพัฒนาปัญญา
3.2.3 มอบหมายงานที่ต้องค้นคว้าและวิเคราะห์ร่วมกัน
3.3.1 ประเมินด้วยการนำเสนอผลงาน สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
3.3.2  วัดจากพฤติกรรมในชั้นเรียน
3.3.3 วัดจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย
3.3.4สังเกตวิธีการคิดการแก้ไขปัญหา
4.1.1  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.2  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.3  สามารถนำความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
 4.2.1 บรรยายพร้อมมอบหมายงานให้ค้นคว้า
4.2.2 นักศึกษาฟังบรรยายเรียนรู้และทำงานส่ง
4.2.3 นักศึกษาอภิปรายผล  นำเสนอผลงานการศึกษา  การสอบกลางภาคและปลายภาค
4.3.1  ประเมินด้วยการนำเสนอผลงาน สอบกลางภาค สอบปลาย
4.3.2  ประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขต
4.3.3  ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
4.3.4  การนำเสนอผลงานจากการวิเคราะห์แสดงผล
5.1.1 สามารถสืบค้นวิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.2.1 บรรยายพร้อมวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
5.2.2 มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้านอกห้องเรียน
5.2.3 มอบหมายงานให้ศึกษานำเสนอผลงานในรูปแบบสื่อคอมพิวเตอร์
5.3.1 ประเมินด้วยการนำเสนอผลงาน สอบกลางภาค สอบปลาย
5.3.2 ประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขต
5.3.3 ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 42023404 ออกแบบแสงสว่าง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3.1 1.3.2 1.3.4 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 2.3.1 3.3.1 4.3.1 5.3.1 5.3.2 5.3.3 สอบย่อย การส่งงานตามที่มอบหมายการบ้าน สอบกลางภาค สอบปลายภาค ตลอดภาคการศึกษา สัปดาห์สอบที่ 9 สัปดาห์สอบที่ 18 50%
3 3.3.1 3.3.2 4.3.3 4.3.4 4.3.5 5.3.1 5.3.2 5.3.3 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การมีส่วนร่วม อภิปราย การนำเสนองานกลุ่ม การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา สัปดาห์ 15 สัปดาห์ 16 40%
Bentley Meeker.  2011.   Light x Design: 20 Years of Lighting
______________.  2011.   The Structure of Light: Richard Kelly and the Illumination of Modern
Architecture (Yale University School of Architecture).  Yale University Press.
Lighting: A Design Source Book. 
Elizabeth Wilhide.  Lighting: Creative Planning for Successful Lighting Solutions
Editors of Creative Publishing. 2003.  Lighting Design & Installation.  Creative Publishing.
Gary Gordon.  2003.   Interior Lighting, Fourth Edition.  John Wiley & son,  Inc.
Lucy Martin.  2010.  The Lighting Bible.  Singapore:  Pageone.
เอกสารประกอบการสอนและ  Power Point
ค้นคว้าข้อมูลจาก Googleเว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
http://www.proudgreenhome.com/research/511/Lighting?gclid=CKS3gLbZgKgCFQZ66wodQhf1pA
http://iotcomm.com/
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสังเกตการณ์
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์ผลงานการบ้านนักศึกษา
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   อภิปรายกลุ่มกับนักศึกษาหลังจากจบรายวิชา
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   ปรับเปลี่ยนวิธีการวัดผล แม้เป็นวิชาทฤษฏี นักศึกษาเน้นการปฏิบัติงานจริง ถนัดการเรียนรู้จากการทำงาน จึงเน้นการประเมินผลที่โครงงาน และการส่งงานตามที่มอบหมายมากขึ้น