มาตรฐานการผลิตทางการประมง

Production Quality for Fisheries

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.1 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบ และการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากกระบวนการผลิตสัตว์น้ำ
1.2 รู้และเข้าใจมาตรฐานฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
1.3 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติทางการประมงที่ดีสำหรับฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
1.4 ตระหนักถึงความสำคัญของการกำหนดมาตรฐานกระบวนการผลิต ผลผลิต และผลิตภัณฑ์ประมง
เพื่อเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาให้ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสัตว์น้ำ  การปฏิบัติทางการประมงที่ดีสำหรับฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่นำไปสู่การกำหนดมาตรฐานกระบวนการผลิต ผลผลิตและผลิตภัณฑ์ประมงที่ดี
๑ ชม./สัปดาห์
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
1.1มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
ให้นักศึกษาตระหนักและมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้มอบหมายทั้งของตนเองและงานของกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย มีวินัยต่อการเรียน โดยเข้าเรียนให้ตรงเวลาส่งงานที่มอบหมายตามเวลาที่กำหนด
1.การสังเกตุ
2.เช็คชื่อเข้าชั้นเรียน
3.การส่งงานที่มอบหมายให้ตรงเวลา
 
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  
2. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
4. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
1.การสังเกต
2.การนำเสนองาน
3.ข้อสอบอัตนัย
 
3.1มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  
2. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
4. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
1.การสังเกต
2.การนำเสนองาน
3.ข้อสอบอัตนัย
4.1มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  
2. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
4. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
1.การสังเกต
5.1สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  
2. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
4. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
1.การสังเกต
2.การนำเสนองาน
3.ข้อสอบอัตนัย
 
6.1สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.2สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3. 1. 2. 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3. 1.
1 23011309 มาตรฐานการผลิตทางการประมง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ๑.๑.๓ บันทึกการเข้าเรียนและการแต่งกายให้ถูกระเบียบวินัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ๒.๑.๑, ๓.๑.๑ การตอบปัญหาในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 ๒.๑.๑, ๒.๑.๓, ๓.๑.๑ การทดสอบย่อย ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 ๒.๑.๑, ๒.๑.๒, ๒.๑.๓,๓.๑.๑ การสอบกลางภาค 20%
5 ๒.๑.๑, ๒.๑.๒, ๒.๑.๓,๓.๑.๑ การสอบปลายภาค ๑๗ 20 %
6 ๑.๑.๓, ๒.๑.๑, ๒.๑.๒, ๒.๑.๓, ๓.๑.๑, ๔.๑.๑, ๔.๑.๓, ๕.๑.๑ การนำเสนองาน 3-8 และ 10-16 30 %
สำนักงานฝ่ายฝึกอบรม, ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, กรมประมง,
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์การเกษตร, กรุงเทพฯ. 185 หน้า.
เกรียงศักดิ์ เม่งอำพัน.2539.หลักการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ. เอกสารประกอบการสอนวิชา พล.301 หลักการ
เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ. ภาควิชาเทคโนโลยีการประมง คณะผลิตกรรมการเกษตร, สถาบัน
เทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้. 210 หน้า.
คเชนทร เฉลิมวัฒน์. 2544. การเพาะเลี้ยงหอย. พิมพ์ครั้งที่ 1, สำนักพิมพ์รั้วเขียว, กรุงเทพฯ. 253 หน้า.
นฤมล อัศวเกศมณี. 2549. การเลี้ยงปลาน้ำจืด :โครงการตำราวิชาการราชภัฏเฉลิมพระเกียรติฯ.  คณะ
เทคโนโลยีการเกษตร, มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, สงขลา. 168 หน้า.
ภาณุ เทวรัตน์มณีกุล, สุจินต์ หนูขวัญ และวีระวัชรกรโยธิน. 2545. การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด.  
www.fisheries.go.th
เวปไซต์ของกรมประมง  และที่เกี่ยวข้อง
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
๑.๑  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
๑.๒  การสังเกตจากพฤติกรรมของผู้เรียน
๑.๓  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
๒.๑  การสังเกตพฤติกรรมการเรียนการสอน  การตอบสนอง  การมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
๒.๒  ผลการเรียนของนักศึกษา
 ๒.๓  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ ๒ จึงมีการปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
          อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาทุกภาคการศึกษาเฉพาะในรายวิชาที่มีปัญหาให้มีการทำวิจัยในชั้นเรียนมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยการตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
คณะมีระบบการทบทวนประสิทธิผลรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของสาขา  การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผล ของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชาเพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรทุก ๕ ปี