หัวข้อคัดสรรในวิศวกรรมกระบวนการอาหาร
Selected Topic in Food Process Engineering
ค้นคว้าข้อมูลในหัวข้อที่ตนสนใจ อภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนภายในกลุ่มเพื่อแตกยอดความคิดออกไปได้
ทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม ตั้งเป้าหมายและสร้างต้นแบบเพื่อทดสอบแนวคิด
ประเมินกระบวนการหรือวิธีการที่นำเสนอเพื่อสอบสนองโจทย์ด้านกระบวนการผลิตอาหาร
สามารถรวบรวมข้อมูล รู้จักตั้งคำถามหรือสร้างโจทย์เพื่อนำไปสู่การวิเคราะห์และเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาในอุตสาหกรรม
สามารถรวบรวมข้อมูล รู้จักตั้งคำถามหรือสร้างโจทย์เพื่อนำไปสู่การวิเคราะห์และเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาในอุตสาหกรรม
เนื่องจากนักศึกษาลงทะเบียนเรียนรายวิชานี้จำนวน 1 คน ผู้รับผิดชอบรายวิชาจึงได้จัดการเรียนการสอนร่วมกับในรายวิชา การเรียนรู้ปัญหาในอุตสาหกรรมอาหาร ในภาคการเรียนเดียวกัน เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้กระบวนการแก้ไขโจทย์ปัญหาทีเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมนม ซึ่งตรงกับความสนใจของนักศึกษาด้วย
การนำหัวข้อปัญหาที่ได้จากสถานประกอบการทั้งจากภาครัฐบาลและเอกชนมาศึกษา วิเคราะห์ บูรณาการความรู้ด้านต่าง ๆ เพื่อแก้ไขปัญหาที่ได้รับมอบหมายภายใต้การแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษา การนำเสนอผลงาน รายงานความก้าวหน้าและจัดทำรายงาน
อาจารย์ผู้สอน แจ้งเวลาให้นักศึกษามาปรึกษานอกตารางเรียนในครั้งแรกของการเรียนการสอน
โดยจัดสรรเวลาให้อย่างน้อย 1 คาบต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
โดยจัดสรรเวลาให้อย่างน้อย 1 คาบต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ มีความซื่อสัตย์ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
มีการคิด และวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบ
มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
มีการคิด และวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นในปัจจุบันและการอภิปรายกลุ่มในเรื่องที่ นักศึกษาสนใจ
1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด
ระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
1.3.2 ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริม
หลักสูตร
1.3.3 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
1.3.4 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
ระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
1.3.2 ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริม
หลักสูตร
1.3.3 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
1.3.4 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
(1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
(2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
(3) สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
(2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
(3) สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการออกแบบแผนการเรียน และกระบวนการประมวลผลร่วมกับอาจารย์ผู้สอน เน้นให้นักศึกษาใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องในประเด็นการเรียนรู้ และให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติตามแผนที่ได้วางแผนไว้ จากนั้นนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้หลักการเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 ทดสอบย่อย และสอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดทั้งความรู้และทักษะการ
ปฏิบัติ
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล และทักษะการลงมือปฏิบัติของนักศึกษารวมทั้งความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม
ปฏิบัติ
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล และทักษะการลงมือปฏิบัติของนักศึกษารวมทั้งความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ นำความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาเนื้อหาและจากการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมมาใช้ในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้ประกอบด้วย
3.1.1 มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกตความรูทั้งทางดานวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนําความรูมาคิดและใชอยางเปนระบบ
3.1.1 มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกตความรูทั้งทางดานวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนําความรูมาคิดและใชอยางเปนระบบ
3.2.1 มอบให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติในการแก้ไขโจทย์ปัญหาที่ให้ และนำเสนอผลการแก้ไขหน้าชั้นเรียน
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
3.2.3 วิเคราะห์ผลที่เกิดขึ้นจากการลงมือปฏิบัติ
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
3.2.3 วิเคราะห์ผลที่เกิดขึ้นจากการลงมือปฏิบัติ
3.3.1 สอบย่อยและปลายภาคโดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่เกิดขึ้นจากการลงมือปฏิบัติของนักศึกษา
3.3.2 วัดผลจากการประเมินการคิด วิเคราะห์โจทย์ การนำเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการวางแผนในการคิดและตัดสินใจในสถานการณ์ปัญหาต่างๆ
3.3.2 วัดผลจากการประเมินการคิด วิเคราะห์โจทย์ การนำเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการวางแผนในการคิดและตัดสินใจในสถานการณ์ปัญหาต่างๆ
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการลงมือปฏิบัติธุรกิจเกษตรตามระยะเวลาที่กำหนด
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคลที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคลที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2 ประเมินจากรายงานบุคคลที่ต้องใช้ข้อมูลจากเพื่อนร่วมชั้น
4.3.2 ประเมินจากรายงานบุคคลที่ต้องใช้ข้อมูลจากเพื่อนร่วมชั้น
5.1.1 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.3 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.3 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากเว็บไซต์ จากการเก็บข้อมูลในลงมือปฏิบัติและการศึกษาดูงาน และทำรายงานโดยเน้นกระบวนการวางแผนอย่างมีระบบ
5.2.2 การนำเสนอโดยรูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.2 การนำเสนอโดยรูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1.1 มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย
6.1.2 มีพัฒนาการทางด้านระบบต่าง ๆ ของร่างกาย
6.1.3 มีพัฒนาการทางด้านบุคลิกภาพ
6.1.2 มีพัฒนาการทางด้านระบบต่าง ๆ ของร่างกาย
6.1.3 มีพัฒนาการทางด้านบุคลิกภาพ
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะ การปฏิบัติในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ
6.3.1 จากประสิทธิภาพในทักษะการปฏิบัติ ความถูกต้อง
6.3.2 การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า และความสามารถในการตัดสินใจ
6.3.3 พฤติกรรมที่แสดงออกในการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ
6.3.2 การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า และความสามารถในการตัดสินใจ
6.3.3 พฤติกรรมที่แสดงออกในการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม | 2. ด้านความรู้ | 3. ด้านทักษะทางปัญญา | 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ด้านทักษะวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6. ด้านทักษะพิสัย | |||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 |
1 | 52019405 | หัวข้อคัดสรรในวิศวกรรมกระบวนการอาหาร |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1-5 | ตรวจวัดด้านจิตพิสัย และการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน | ทุกสัปดาห์ | 10 |
2 | 2,3,5 | การจัดทำข้อมูล/รายงาน | 6, 8, 15 และ 17 | 35 |
3 | 1-5 | การค้นคว้าหาข้อมูล การทำงานร่วมกัน และการอภิปราย | ทุกสัปดาห์ | 20 |
4 | 1-5 | การปฏิบัติ ผลงานการแก้ไขโจทย์ปัญหา | 5, 7, 14 และ 16 | 35 |
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เรียน
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เรียน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาแลกเปลี่ยนการจัดการเรียนการสอนระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
3.2 การวิจัยในชั้นเรียน
3.1 สัมมนาแลกเปลี่ยนการจัดการเรียนการสอนระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
3.2 การวิจัยในชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจาก การเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ