การส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร

Agricultural Technology Transfer and Extension

   เพื่อศึกษาความหมาย ปรัชญา ความสำคัญและหลักการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร หลักการเรียนรู้ และกระบวนการเรียนรู้ หลักการติดต่อสื่อสาร และกระบวนการใช้สื่อเพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี  การวิเคราะห์ปัญหาการเกษตร เพื่อการวางแผนส่งเสริมแบบยั่งยืน กระบวนการยอมรับนวัตกรรมของเกษตรกร หลักการและวิธีการถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร แหล่งข้อมูลข่าวสารสารสนเทศทางการเกษตร
 
   เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับความหมาย ปรัชญา ความสำคัญ และหลักการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร หลักการเรียนรู้ และกระบวนการเรียนรู้ หลักการติดต่อสื่อสาร และกระบวนใช้สื่อเพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี การวิเคราะห์ปัญหาการเกษตร เพื่อการวางแผนส่งเสริมแบบยั่งยืน กระบวนการยอมรับนวัตกรรมของเกษตรกร หลักการและวิธีการถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร แหล่งข้อมูลข่าวสารสารสนเทศทางการเกษตร
   ศึกษาความหมาย ปรัชญา ความสำคัญและหลักการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร หลักการเรียนรู้ และกระบวนการเรียนรู้ หลักการติดต่อสื่อสาร และกระบวนการใช้สื่อเพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี  การวิเคราะห์ปัญหาการเกษตร เพื่อการวางแผนส่งเสริมแบบยั่งยืน กระบวนการยอมรับนวัตกรรมของเกษตรกร หลักการและวิธีการถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร แหล่งข้อมูลข่าวสารสารสนเทศทางการเกษตร
3 ชั่วโมง
1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
-  ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง  มีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม และแสดงความคิดเห็น
-  มีการสอดแทรกและยกตัวอย่างด้านคุณธรรมจริยธรรม  ในขณะที่สอนเนื้อหา
-  มีการกำหนดกฎกติกามารยาทในชั้นเรียน เช่น การเข้าเรียนตรงต่อเวลา การเข้าเรียนสม่ำเสมอ
-  สอนให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
-  ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียนและในแปลงปฏิบัติการ
-  ตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลา การปฏิบัติตามกฎกติกา ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด  และความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
-  ประเมินจากการไม่ทุจริตในการสอบ
-  นักศึกษาประเมินตนเอง 
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
-  ใช้วิธีการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
-  มีการบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง ยกตัวอย่างประกอบ  ศึกษาจากการสืบค้นด้วยตนเอง จัดทำรายงาน  ตลอดจนนำเสนอรายงานในชั้นเรียน เพื่อให้นักศึกษาร่วมกันวิเคราะห์และวิจารณ์
-  การสอบย่อยหลังเรียน  สอบกลางภาค  และสอบปลายภาค 
-  ประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
-  ประเมินผลความความสม่ำเสมอในการเข้าชั้นเรียน  และการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
1มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
-  ฝึกให้บรรยายความรู้และความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียน
-  มอบหมายให้ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลการทำงานในชั้นเรียน
-  ประเมินจากการโต้ตอบคำถาม และการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
-  จากรายงานกลุ่ม  และการนำเสนอรายงาน
-  ประเมินจากการสอบข้อเขียน ในการสอบย่อย สอบกลางภาค  และสอบปลายภาค 
1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
-  มอบหมายงานกลุ่ม ให้นักศึกษาทำงานเป็นทีม
-  จัดกิจกรรมเสริมทั้งในและนอกชั้นเรียน
-  ประเมินจากกระบวนการทำงานและผลงานที่ทำเป็นกลุ่ม
-  ให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่ม
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
 2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-  มอบหมายงานมอบหมายที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ  เช่น  การสำรวจ วิเคราะห์ และวางแผนการส่งเสริมการเกษตรในพื้นที่ชุมชน
-  สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น MS Word และ MS PowerPoint ในการจัดทำรายงานและนำเสนอรายงาน
-  ใช้สื่อและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ประการการสอน เช่น โปรแกรม MS Word และ MS PowerPoint  มีการนำเสนองานกลุ่ม พร้อมข้อเสนอแนะ  เพื่อเน้นให้นักศึกษาใช้ภาษาอย่างถูกต้อง และชัดเจน
-  มีการมอบหมายงาน โดยการค้นคว้าด้วยตนเองจากตำรา วารสาร เอกสารวิชาการ หรือ ทางอินเตอร์เน็ต  ตลอดจนการลงพื้นที่แปลงปลูกพืชของเกษตรกร เพื่อทำการตรวจประเมินมาตรฐานการผลิตพืชอาหาร  ตามมาตรฐาน GAP
-  ประเมินจากผลงาน  ทักษะการใช้ภาษา และการนำเสนอข้อมูล
1.สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
2. สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
3. สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การใช้บันทึกการเข้าชั้นเรียน 1-18 5 %
2 การประเมินผลงาน (เอกสารรายงาน) 1-18 10%
3 การสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน 1-18 5 %
4 ข้อสอบ 18 60 %
5 ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียน 1-18 10 ๔
6 ประเมินการมีวินัย และพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วม / การส่งงาน 1-18 5 %
7 การประเมินโดยเพื่อนร่วมกลุ่มงานและหรือเพื่อนร่วมชั้นเรียน 1-118 5 ๔
1. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.  หลักการส่งเสริมการเกษตร.  กรุงเทพฯ.  
2. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.  หลักการส่งเสริมการเกษตร
ข้อมูล/ สถิติของกรมส่งเสริมการเกษตร, กรมวิชาการเกษตร, กรมปศุสัตว์
วีดีทัศน์ ประชาสัมพันธ์ต่างๆ www.youtube.com
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน 
สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ พร้อมกับแสดงข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
ประเมินการสอนโดยคณะกรรมการประเมินการสอน  หรือจากการสังเกตการณ์สอนและสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา  โดยอาจารย์ในสาขาวิชา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวน  ปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอน จากผลการประเมินประสิทธิภาพรายวิชา แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน มีการนำนักศึกษาศึกษาดูงานนอกสถานที่ และรับฟังการบรรยายจาก   ผู้มีประสบการณ์ในหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชา นอกจากนี้   ควรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน หรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน 
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบ และความเหมาะสมของการให้คะแนน  โดยการสุ่มรายวิชา
สาขาวิชามีระบบทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของคณะ  และรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน