ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ

Academic English

1.1 สามารถเลือกใช้คำศัพท์และสำนวนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการได้เหมาะสมตามสถานการณ์
1.2 สามารถพูดและเขียนอธิบาย เพื่อแสดงความคิดเห็นตามสถานการณ์เชิงวิชาการได้
1.3 สามารถประยุกต์ ทักษะ ฟัง พูด อ่าน เขียน ภาษาอังกฤษเพื่อสื่อสารในบริบทเชิงวิชาการได้
1.4 สามารถใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานเป็นภาษาอังกฤษในบริบทเชิงวิชาการได้
- เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติ บัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
 
ฝึกปฏิบัติทักษะ การฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาอังกฤษ และการนำเสนองานในบริบททางวิชาการ
Practice English listening, speaking, reading, writing skills and giving presentations in academic contexts
- 3.1 อาจารย์ประจำรายวิชา กำหนดเวลาในการให้คำปรึกษา
วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องพักอาจารย์ โทร 130-131
e-mail; เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
3.2 อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตาม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 GEBLC103 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การแสดงออกและมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน 1-15 10%
2 งานที่ได้รับมอบหมาย ทุกสัปดาห์ 5%
3 การจำลองสถานการณ์ 6-7 5%
4 การสอบกลางภาค 9 25%
5 ผลงาน 10-11 20%
6 การนำเสนองาน 14-15 10%
7 การสอบปลายภาค 16 25%
Keynote 2A TED TALKS, David Bohlke and Eunice Yeates, National Geographic Learning, Cengate Learning. USA. 2017
ไม่มี
ไม่มี
1.1 นักศึกษาเสนอแนะเนื้อหารายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อปรับปรุง
1.2 การประเมินผลการสอนโดยใช้แบบประเมินของฝ่ายวิชาการ กองการศึกษา
1.3. ประเมินผลการสอนโดยใช้ระบบออนไลน์
 
2.1 สังเกตจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำกิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียน
2.2 สอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาเมื่อสิ้นสุดการเรียนแต่ละหน่วยเรียน
2.3 ประเมินจากคะแนนแบบฝึกหัดแต่ละบทเรียนและความเข้าใจเนื้อหา
2.4 ประเมินจากผลการสอบกลางภาคและปลายภาคของนักศึกษา
3.1 ปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัยและมีระดับภาษาที่เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน
3.2 สำรวจรูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาก่อนเรียนและปรับปรุงแบบกิจกรรมให้เหมาะสม
3.3 สรุปผลการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งเพื่อนำมาปรับปรุงครั้งต่อๆ ไป
: ในระหว่างการเรียนการสอนมีการตรวจแบบฝึกหัดและรายงานโดยตรวจสอบคะแนนของนักศึกษาแต่ละคนว่ามีการพัฒนาก้าวหน้าหรือไม่มี จากนั้นแก้ไขโดยการอธิบาทำความเข้าใจกับนักศึกษาทั้งชั้นหรือเป็นรายบุคคล พร้อมทั้งแจ้งผลคะแนนจากแบบฝึกหัดและคะแนนสอบเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง
5.1 ทบทวนเนื้อหาในบทเรียน โดยเลือกระดับของภาษาให้เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน
5.2 มีการปรับปรุงเนื้อหาทุกปี ตามสภาวการณ์ใหม่ๆ และตามความน่าสนใจ
5.3 ปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมให้มีความหลากหลายและสนองตอบต่อรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลายของกลุ่มผู้เรียนหรือตามที่ได้ศึกษาวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
5.4 ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะของนักศึกษาและของผู้ทรงคุณวุฒิที่ตรวจสอบรายวิชาในการประเมินคุณภาพการศึกษาประจำปี