การเจียระไนอัญมณี

Gemstones Cutting and Polishing

     1.1  รู้และเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการเจียระไนพลอย
     1.2  มีทักษะในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในการเจียระไนพลอย
     1.3  มีทักษะในการเจียระไนพลอยแบบหลังเบี้ยและแบบเหลี่ยม
  1.4  ตระหนักถึงความสำคัญของการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในการเจียระไนพลอยอย่างปลอดภัย
     เพื่อปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนและเนื้อหาให้มีความเหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน สอดคล้อง กับมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนดไว้  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะในการใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์สำหรับการเจียระไนพลอย ตลอดจนได้เรียนรู้กระบวนการเจียระไนแบบต่าง ๆ เพื่อเป็นพื้นฐานใน การประกอบอาชีพทางด้านอัญมณีและเครื่องประดับ ทั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีและแนวโน้มด้าน ต่าง ๆ ที่มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย  
        ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือเจียระไนพลอย การตั้งน้ำ การโกลนพลอย การแต่งพลอย การเจียระไนพลอยแบบหลังเบี้ยและแบบเหลี่ยม
-    อาจารย์ผู้สอน  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
-    อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาอย่างน้อย 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ 
     1.1.1  มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา การนำความรู้ทางด้านเครื่องประดับไปใช้กับสังคมและสิ่งแวดล้อม การกำจัดของเสียที่เกิดจากกระบวนการเจียระไนพลอย
1.3.1 ประเมินจากการร่วมกิจกรรมกลุ่มและการรายงานผลของการจัดกิจกรรม
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2.1 บรรยายและยกตัวอย่างเกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา โดยการใช้สไลด์ ภาพนิ่ง เพื่อ เสริมสร้างความเข้าใจตามเนื้อหาในรายวิชา
2.3.1    ประเมินผลจากการสอบกลางภาคเรียน สอบปลายภาคเรียน
3.1.1    มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2.1 บรรยายและสาธิตวิธีการใช้เครื่องมือสำหรับการเจียระไนอัญมณีให้นักศึกษาดูเป็น ตัวอย่างควบคุมการปฏิบัติงานตลอดจนเน้นให้นักศึกษาสามารถแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการปฏิบัติงานและท้ายชั่วโมงเรียนให้มีการอภิปรายปัญหาและวิธีการแก้ไข
3.3.1    ประเมินผลจากผลงานภาคปฏิบัติและการสอบภาคปฏิบัติ
4.1.1   สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา การนำความรู้ทางด้านเครื่องประดับ ไปใช้กับสังคมและสิ่งแวดล้อม การกำจัดของเสียที่เกิดจากกระบวนการเจียระไนพลอย
     4.3.1   ประเมินจากการร่วมกิจกรรมกลุ่มและการรายงานผลของการจัดกิจกรรม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3 4 1 2 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 43043044 การเจียระไนอัญมณี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 4.1.1 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม การวิเคราะห์กรณีศึกษา การนำความรู้ทางด้านการเจียระไนอัญมณีไปใช้กับสังคมและสิ่งแวดล้อม การกำจัดของเสียที่เกิดขึ้นจากกระบวนการเจียระไนพลอย สัปดาห์ที่ 16 ร้อยละ 20
2 2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา การสอบกลางภาคเรียนและสอบปลายภาคเรียน สัปดาห์ที่ 1 ถึง 16 ร้อยละ 30
3 3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ ประเมินผลจากผลงานภาคปฏิบัติและการสอบภาคปฏิบัติ สัปดาห์ที่ 1 ถึง 16 ร้อยละ 50
วิทยากร บุญเรือง, 2555, อุตสาหกรรมเจียระไนพลอยและแรงงานในประเทศไทยช่วง              วิกฤตเศรษฐกิจ, สำนักพิมพ์คนทำงาน, 39 หน้า.
Gemstone Artists, The Gem Cutting Process, www.gemstoneartist.com
       
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้โดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

 การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
     2.1   การสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา
     2.2   อภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียน
     2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการหาข้อมูลเพิ่มเติมในการ ปรับปรุงการสอน  ดังนี้
     3.1   ทบทวนเนื้อหาและวิธีการสอนให้สอดคล้องกับเกณฑ์ที่กำหนด
     3.2   หาแนวทางและวิธีการสอนที่เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการ เรียนรู้ในวิชา โดยมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
     4.1  การทวนสอบผลการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย
     4.2  การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
     5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุกปีตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
     5.2   การประชุมกรรมการประจำหลักสูตรเพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา