ศิลปการขาย

Salesmanship

1.1 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจเกี่ยวกับการวางแผนการขาย ศาสตร์และศิลปะการขาย
1.2 เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคของศิลปะการขายในการขายสินค้าและบริการต่างๆ การขาย
อย่างสร้างสรรค์ วิธีขายให้กับบุคคล องค์กรธุรกิจ หน่วยงานราชการ
1.3 เพื่อให้นักศึกษารู้วิธีการประเมินผลการขาย การแก้ปัญหาการขาย การบริหารบุคลกรฝ่ายขาย
การศึกษาและการวิเคราะห์การปฏิบัติงานของพนักงานขายที่มีชื่อเสียงต่างๆ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวางแผนการขาย ศาสตร์และศิลปะการขาย หลักและเทคนิคของศิลปะการขาย ในการขายสินค้าและบริการต่างๆ การขายอย่างสร้างสรรค์ วิธีการขายให้กับบุคคล องค์กรธุรกิจ หน่วยงานราชการ การประเมินผลการขาย การแก้ปัญหาการขาย การบริหารบุคลากรฝ่ายขาย การศึกษาและการวิเคราะห์การปฏิบัติงานของพนักงานขายที่มีชื่อเสียงต่างๆ
ศึกษาการวางแผนการขาย ศาสตร์และศิลปะการขาย หลักและเทคนิคของศิลปะการขาย ในการขายสินค้าและบริการต่างๆ การขายอย่างสร้างสรรค์ วิธีการขายให้กับบุคคล องค์กรธุรกิจ หน่วยงานราชการ การประเมินผลการขาย การแก้ปัญหาการขาย การบริหารบุคลากรฝ่ายขาย การศึกษาและการวิเคราะห์การปฏิบัติงานของพนักงานขายที่มีชื่อเสียงต่างๆ
อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล (เฉพาะรายที่ต้องการ) หรือรายกลุ่มนอกชั้นเรียน ตามความต้องการของนักศึกษาดังนี้
1.1 จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา 16.00-17.00 น. ห้องพักอาจารย์สาขาวิชาการตลาด คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ โทร. 054-710259 ต่อ 7113
1.2 E-mail: dhaniya_fay@hotmail.com หรือ หรือ Facebook โดยการสร้างกลุ่มเฉพาะรายวิชาเพื่อให้คำปรึกษาเฉพาะกลุ่ม
1.1 มีความซื่อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเอง และผู้อื่น ไม่เรารัดเอาเปรียบผู้อื่น และมีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม
1.2 มีความกตัญญู ความเสียสละ ความอดทน ความเพียรพยายาม
1.3 มีความพอเพียงเป็นหลักในการดำเนินชีวิต โดยยึดแนวคิดพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกัน
1.4 มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.5 มีจิตสำนึกและมีมโนธรรมที่แยกแยะความถูกต้อง ความดี และความชั่ว
1. อาจารย์ประพฤติตนเป็นแบบอย่าง (Role Model)
2. การเรียนรู้โดยการใช้สื่อ Media Learning
3. การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก Problem Based Learning
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การสังเกต
2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ (Knowledge)
2.1 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการเรียนด้านบริหารธุรกิจ ที่ครอบคลุมทั้งการบัญชี เศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร์ ศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
2.2 มีความรู้และความเข้าใจใน
สาระสำคัญของศาสตร์ด้านบริหารธุรกิจ ทางการตลาด การเงิน การผลิตและการดำเนินงาน รวมทั้งการจัดองค์กรและทรัพยากรมนุษย์
2.3 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การปฏิบัติการ การควบคุมและการประเมินผลการดำเนินงานรวมทั้งการปรับปรุงแผนงาน
2.4 มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่ากัน
1. ศึกษาด้วยตนเอง Self Directed Learning
2. เข้ากลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Co-operative Learning
3. การเรียนรู้โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ Evidence Based Learning
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การสังเกต
3. ข้อสอบอัตนัย
4. ข้อสอบปรนัย
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ต่อยอดกรอบความรู้เดิม สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษาและประสบการณ์เพื่อให้เกิดนวัตกรรม กิจกรรม หรือแนวทางในการบริหารยุคใหม่ๆ
3.2 สามารถสืบค้น จำแนก และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ซึ่งสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา และตัดสินใจได้อย่างเหมาะสม
3.3 สามารถคิดค้นทางเลือกใหม่ๆ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์
ทางเลือกและผลกระทบที่เป็นผล
จากทางเลือกอย่างรอบด้าน โดยการนำความรู้และประสบการณ์มาประยุกต์ใช้
3.4 มีความกล้าในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์
1. การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก Problem Based Learning
2. การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ Performance Based Learning
โดย มีการมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการ บริษัทจำลอง เพื่อทำการดำเนินธุรกิจ
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การสังเกต
3. ข้อสอบอัตนัย
4. ข้อสอบปรนัย
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 มีความสามารถในการประสานงาน มีมนุษยสัมพันธ์และ
สามารถสร้างสัมพันธภาพอันดีกับผู้อื่นด้วยพื้นฐานความเข้าใจถึงความแตกต่างของผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างมีจิตวิทยา
4.2 มีความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม การประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกเพื่อนร่วมงาน ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงความเป็นผู้นำที่มีความรับผิดชอบ
4.3 มีความกระตือรือร้นและความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีระบบ
4.4 มีความสามารถในการริเริ่มแสดงความคิดเห็นใหม่ๆ ที่อาจมีความแตกต่างอย่างสร้างสรรค์
1. การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ Performance Based Learning
โดย มีการมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการ บริษัทจำลอง
เพื่อทำการดำเนินธุรกิจ
2. การเรียนรู้โดยการใช้สื่อ Media Learning โดยการใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในงานที่ได้รับมอบหมายอย่างเหมาะสม
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การสังเกต
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 สามารถประยุกต์ใช้หลัก
คณิตศาสตร์ สถิติและการวิเคราะห์เชิงปริมาณมาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ
5.2 สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.3 สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานและเทคโนโลยีระบบสารสนเทศที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน
5.4 สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจอย่างถูกต้อง ทั้งในรูแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจา
5.5 สามารถสื่อสารด้วยบุคลิกภาพที่น่าเชื่อถือและสามารถเลือกใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการและเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับกลุ่มบุคคลที่มีพื้นฐานและแนวความคิดที่หลากหลาย
5.6 ความสามารถนำเทคโนโลยีไปเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนในการดำเนินงานและทราบถึงข้อจำกัดของเทคโนโลยี
5.7 ความสามารถนำเทคโนโลยีการสื่อสารแบบเครือข่าย เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการสื่อสารและดำเนินงาน
1. การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ Performance Based Learning
โดย มีการมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการ บริษัทจำลอง เพื่อทำการดำเนินธุรกิจ
2. การเรียนรู้โดยการใช้สื่อ Media Learning โดยการใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในงานที่ได้รับมอบหมายอย่างเหมาะสม
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การสังเกต
3. ข้อสอบอัตนัย
4. ข้อสอบปรนัย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ (Knowledge) 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 7
1 12021313 ศิลปการขาย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 3.1, 3.2, 3.3, 4.2, 4.3, 4.4, 5.4 1. การสร้างเพจ 2. รายงานกลุ่ม 3. กรณีศึกษา 4. การนำเสนอ 1-8, 10-16 40% 10% 10%
2 1.4, 1.5 การเข้าชั้นเรียน 1. คะแนนเจตคติ 1-8, 10-16 10%
3 2.2, 2.3, 2.4 การสอบกลางภาค 17 30%
ศศนันท์ วิวัฒนชาต. (2549). เทคนิคการขายอย่างมีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 3).
กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นิตยสารทางธุรกิจ เช่น นิตยสาร Brand Age นิตยสาร 4P’s ฯลฯ
Castleberry, S.B and Tanner, J.F. (2010). Selling: Building Partnerships. 8th ed.
Boston : McGraw-Hill/Irwin.
- http://www.brandage.com/
- https://www.marketingoops.com/
- http://marketeer.co.th/
- วารสาร นิตยสาร บทความหรืองานวิจัยต่างๆ ทางการตลาด และเว็ปไซด์ทางธุรกิจ
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษา ได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
1.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
1.2 การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม
สมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้
1.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
1.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในรายวิชา ได้ดังนี้
1.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น
1.2 การตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
1.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตาม ข้อ 4
1.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการตลาดให้มีความหลากหลายมากขึ้น