การวิเคราะห์เปรียบเทียบภาษาอังกฤษและภาษาไทย
Contrastive Analysis of English and Thai
เพื่อให้นักศึกษาเกิดความรู้ความเข้าใจในหลักการวิเคราะห์เปรียบเทียบภาษา และมีทักษะในการวิเคราะห์เปรียบเทียบภาษาอังกฤษและภาษาไทย เพื่อประยุกต์ใช้ความรู้ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับบริบททางสังคม
เพื่อให้นักศึกษาได้เข้าใจความแตกต่างระหว่างภาษาอังกฤษและภาษาไทย ตลอดจนผลกระทบที่มีต่อการใช้ภาษาและการสื่อสาร เพื่อให้สามารถประยุกต์ใช้ภาษาให้เหมาะสมกับบริบทต่างๆ ในสังคม
การวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างด้านระบบเสียง คำ โครงสร้าง และความหมาย ระหว่างภาษาอังกฤษและภาษาไทย นำมาประยุกต์ใช้ในการเรียนและการสื่อสาร
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามเวลาที่นักศึกษาต้องการ 1 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
สอดแทรกการใช้ภาษาในสังคมได้อย่างถูกต้องเหมาะสม รู้จักปรับใช้ภาษาได้อย่างถูกต้องตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
1.1.1 [2] มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 [ ] มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.3 [1] มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4 [ ] เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.1 [2] มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 [ ] มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.3 [1] มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4 [ ] เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. อธิบายรายวิชา รูปแบบการเรียนการสอน และการประเมินผล และให้นักศึกษาอภิปรายเสนอแนะประเด็น
2. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
3. กิจกรรมที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
4. แสดงบทบาทสมมติ
2. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
3. กิจกรรมที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
4. แสดงบทบาทสมมติ
1. เข้าเรียนตรงเวลา
2. ส่งงานตามที่กำหนด
3. มีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
4. เก็บคะแนนย่อย
5. สอบทฤษฎีกลางภาค ปลายภาค
2. ส่งงานตามที่กำหนด
3. มีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
4. เก็บคะแนนย่อย
5. สอบทฤษฎีกลางภาค ปลายภาค
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และความเข้าใจใน
2.1.1 [1] มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 [2] สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 [1] สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.3 [2]สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ที่มีได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.1.1 [1] มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 [2] สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 [1] สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.3 [2]สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ที่มีได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย
1. ให้ความรู้แก่นักศึกษาในบทเรียนต่าง ๆ แล้วให้นศ.ทบทวนความเข้าใจตามกิจกรรมที่กำหนด
2. ให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ และมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
3. ให้นักศึกษาได้ศึกษาจากกรณีศึกษา งานวิจัย ตัวอย่างต่าง ๆ ทางด้านการวิเคราะห์เปรียบเทียบภาษา
1. ให้ความรู้แก่นักศึกษาในบทเรียนต่าง ๆ แล้วให้นศ.ทบทวนความเข้าใจตามกิจกรรมที่กำหนด
2. ให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ และมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
3. ให้นักศึกษาได้ศึกษาจากกรณีศึกษา งานวิจัย ตัวอย่างต่าง ๆ ทางด้านการวิเคราะห์เปรียบเทียบภาษา
1. การทดสอบความรู้ความเข้าใจเชิงทฤษฎีในการสอบกลางภาคและปลายภาค
2. ผลงานจากการค้นคว้าเพิ่มเติมของนักศึกษาและนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
3. การวิเคราะห์กรณีศึกษา ตัวอย่าง และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งในและนอกชั้นเรียน
2. ผลงานจากการค้นคว้าเพิ่มเติมของนักศึกษาและนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
3. การวิเคราะห์กรณีศึกษา ตัวอย่าง และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งในและนอกชั้นเรียน
3.1.1 [1] มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ
3.1.2 [ ] มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.1.3 [1] มีทักษะในการนำความรู้มาประยุกต์และปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมตาม
3.1.2 [ ] มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.1.3 [1] มีทักษะในการนำความรู้มาประยุกต์และปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมตาม
1. ให้นักศึกษาฝึกวิเคราะห์และเปรียบเทียบองค์ประกอบต่าง ๆ ของภาษาอังกฤษและภาษาไทย ทั้งเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มย่อย เพื่ออภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและข้อเสนอแนะให้แก่กัน
2. ให้นักศึกษาระดมสมองเป็นกลุ่มย่อย เพื่อแสดงความคิดเห็นตามสถานการณ์ที่กำหนด จากนั้นอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเสนอแนะให้แก่กัน
2. ให้นักศึกษาระดมสมองเป็นกลุ่มย่อย เพื่อแสดงความคิดเห็นตามสถานการณ์ที่กำหนด จากนั้นอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเสนอแนะให้แก่กัน
1. ผลการทำฝึกปฏิบัติวิเคราะห์ของนักศึกษา
2. ผลการทำงานมอบหมายของนักศึกษา
2. ผลการทำงานมอบหมายของนักศึกษา
4.1.1 [1] มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 [2] มีภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตาม
4.1.3 [1] สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 [ ] สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.2 [2] มีภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตาม
4.1.3 [1] สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 [ ] สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
จัดกิจกรรมแบบกลุ่มย่อยในชั้นเรียนและกระตุ้นให้นักศึกษาเข้าร่วมกลุ่มอย่างสร้างสรรค์
1. ผลการทำฝึกปฏิบัติวิเคราะห์ของนักศึกษา
2. ผลการทำงานมอบหมายของนักศึกษา
2. ผลการทำงานมอบหมายของนักศึกษา
5.1.1 [ ] เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 [ ] สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 [2] ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะและสอดคล้องกับวัฒนธรรม
5.1.2 [ ] สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 [2] ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะและสอดคล้องกับวัฒนธรรม
จัดให้นักศึกษาได้ศึกษาตัวอย่างการใช้ภาษาที่ถูกต้องเหมาะสมในสถานการณ์จริง
- ดูจากการนำเสนอผลงาน
- การสืบค้นข้อมูลตามคำสั่งได้
- การสืบค้นข้อมูลตามคำสั่งได้
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1.1, 2.1.3, 5.1.3 | สอบกลางภาค สอบปลายภาค | สัปดาห์ที่ 9 สอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 17 สอบปลายภาค | สอบกลางภาค 25% สอบปลายภาค 25% |
2 | 1.1.4, 2.1.3, 3.1.2, 4.1.2, 4.1.4, 5.1.3 | 1. การศึกษาค้นคว้าและการนำเสนอ 2. งานที่มอบหมาย 3. การฝึกปฏิบัติ 4. การทำงานกลุ่ม | ตลอดภาคการศึกษา | 40% |
3 | 1.1.1, 1.1.2, 1.1.4 | 1. การส่งงานตามที่มอบหมาย 2. การเข้าชั้นเรียนและการร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
หนังสือ
1. ภาษาและภาษาศาสตร์
2. ภาษาศาสตร์ภาษาไทย
1. ภาษาและภาษาศาสตร์
2. ภาษาศาสตร์ภาษาไทย
เว็บไซต์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาษาอังกฤษ ภาษาไทย และภาษาศาสตร์
การประเมินผลของรายวิชาโดยนักศึกษากระทำโดย
- การประเมินผลการสอนโดยใช้แบบประเมินของฝ่ายวิชาการ กองการศึกษา
- ให้นักศึกษาเสนอแนะเกี่ยวกับรายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อนำไปปรับปรุง
- การประเมินผลการสอนโดยใช้แบบประเมินของฝ่ายวิชาการ กองการศึกษา
- ให้นักศึกษาเสนอแนะเกี่ยวกับรายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อนำไปปรับปรุง
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน มีกลยุทธ์ดังนี้
- สอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาเมื่อสิ้นสุดการเรียนแต่ละหน่วยเรียน
- สังเกตจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชั้นเรียน
- ประเมินจากคะแนนแบบฝึกหัดแต่ละบทเรียนและความเข้าใจในเนื้อหา
- ประเมินจากผลการสอบกลางภาคและปลายภาคของนักศึกษา
- สอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาเมื่อสิ้นสุดการเรียนแต่ละหน่วยเรียน
- สังเกตจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชั้นเรียน
- ประเมินจากคะแนนแบบฝึกหัดแต่ละบทเรียนและความเข้าใจในเนื้อหา
- ประเมินจากผลการสอบกลางภาคและปลายภาคของนักศึกษา
การปรับปรุงการสอนในรายวิชา กระทำโดย
- ปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัยและมีระดับความยากง่ายที่เหมาะสมกับกับระดับของผู้เรียน
- สังเกตรูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาก่อนเรียน และปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมให้เหมาะสม
- สรุปผลการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้ง เพื่อนำมาปรับปรุงครั้งต่อ ๆ ไป
- ปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัยและมีระดับความยากง่ายที่เหมาะสมกับกับระดับของผู้เรียน
- สังเกตรูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาก่อนเรียน และปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมให้เหมาะสม
- สรุปผลการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้ง เพื่อนำมาปรับปรุงครั้งต่อ ๆ ไป
ในระหว่างการเรียนการสอนมีการตรวจแบบฝึกหัดและงานกลุ่ม โดยตรวจสอบคะแนนของนักศึกษาแต่ละคนว่ามีการพัฒนาก้าวหน้าหรือไม่ จากนั้นแก้ไขโดยการอธิบายทำความเข้าใจกับนักศึกษาทั้งชั้น หรือเป็นรายบุคคล พร้อมทั้งแจ้งผลคะแนนจากแบบฝึกหัดและคะแนนสอบเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง
- ทบทวนเนื้อหาในบทเรียน โดยเลือกระดับของความยากง่ายของเนื้อหาให้เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน
- มีการปรับปรุงเนื้อหาทุกปี ตามสภาวการณ์ใหม่ ๆ ในด้านภาษา
- ปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมให้มีความหลากหลาย และสนองตอบต่อรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลายของกลุ่มผู้เรียน ตามที่ได้สังเกตพบในแต่ละสัปดาห์
- ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะของหัวหน้าสาขาและรองคณบดีที่ตรวจสอบรายละเอียดของรายวิชาก่อนเปิดภาคเรียน
- มีการปรับปรุงเนื้อหาทุกปี ตามสภาวการณ์ใหม่ ๆ ในด้านภาษา
- ปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมให้มีความหลากหลาย และสนองตอบต่อรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลายของกลุ่มผู้เรียน ตามที่ได้สังเกตพบในแต่ละสัปดาห์
- ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะของหัวหน้าสาขาและรองคณบดีที่ตรวจสอบรายละเอียดของรายวิชาก่อนเปิดภาคเรียน