ฝึกงานวิชาชีพทางออกแบบอุตสาหกรรม

Job Internship in Industrial Design

            ๑. เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสใช้ทฤษฎีเกี่ยวและกลวิธีการทำงานต่างๆ
            ๒. เพื่อให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงจากการทำงานจริง
            ๓. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้งานอาชีพสามารถแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ได้เป็นอย่างดี
            ๔. เพื่อให้นักศึกษาฝึกการอยู่ในระเบียบวินัย และข้อบังคับของหน่วยงานที่ตนไปฝึกงาน
            ๕. เพื่อฝึกการทำงานร่วมกับบุคคลอื่นในหน่วยงานได้เป็นอย่างดีและมีประสิทธิภาพ
เพื่อนำข้อมูลที่ได้จากการประเมินผลในปีการศึกษา ๒๕๖๐ มาปรับปรุงกระบวนการจัดการฝึกประสบการณ์ภาคสนามของนักศึกษาให้มีความเหมาะสมกับความต้องการของสถานประกอบการ  และเพื่อให้การจัดการการฝึกประสบการณ์ของนักศึกษามีความสะดวกและเข้าใจตรงกันทุกฝ่าย
ฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการของรัฐบาลหรือเอกชน ที่เกี่ยวข้องกับงานด้านออกแบบอุตสาหกรรม เป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๓๒๐ ชั่วโมง ในระหว่างภาคฤดูร้อน
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าคุณธรรม และจริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. การปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกไปฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
2. การทำคู่มือการฝึกประสบการณ์ภาคสนามเพื่อให้นักศึกษาได้ใช้เป็นคู่มือในการฝึกงานภาคสนาม  และให้นักศึกษาบันทึกการฝึกงาน พร้อมปัญหาและอุปสรรค์ และการแก้ไขปัญหา
3. จัดให้มีนิเทศและติดตามผลการฝึกประสบการณ์โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบการฝึกงาน  เพื่อติดตามผลและแก้ไขปัญหาร่วมกับสถานประกอบการ
4. นักศึกษาจัดทำรายงานการฝึกประสบการณ์ภาคสนามเพื่อนำเสนอต่ออาจารย์ผู้ควบคุมการฝึกงาน
5. นำเสนอผลการฝึกงานเป็นรายกลุ่มหลังจากฝึกงานเสร็จ
1. ประเมินผลจากรายงานการฝึกประสบการณ์
2. ประเมินผลจากสมุดบันทึกการฝึกงาน
3. แบบประเมินผลจากการประเมินของสถานประกอบการ
4. ประเมินจากการติดตามผลของอาจารย์นิเทศติดตามผลการฝึกประสบการณ์
5. ประเมินจากการนำเสนอประสบการณ์เป็นกลุ่มหลังจากฝึกประสบการณ์
2.1.1   มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2   สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.1.3    สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
1. การปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกไปฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
2. การทำคู่มือการฝึกประสบการณ์ภาคสนามเพื่อให้นักศึกษาได้ใช้เป็นคู่มือในการฝึกงานภาคสนาม  และให้นักศึกษาบันทึกการฝึกงาน พร้อมปัญหาและอุปสรรค์ และการแก้ไขปัญหา
3. จัดให้มีนิเทศและติดตามผลการฝึกประสบการณ์โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบการฝึกงาน  เพื่อติดตามผลและแก้ไขปัญหาร่วมกับสถานประกอบการ
4. นักศึกษาจัดทำรายงานการฝึกประสบการณ์ภาคสนามเพื่อนำเสนอต่ออาจารย์ผู้ควบคุมการฝึกงาน
5. นำเสนอผลการฝึกงานเป็นรายกลุ่มหลังจากฝึกงานเสร็จ
1. ประเมินผลจากรายงานการฝึกประสบการณ์
2. ประเมินผลจากสมุดบันทึกการฝึกงาน
3. แบบประเมินผลจากการประเมินของสถานประกอบการ
4. ประเมินจากการติดตามผลของอาจารย์นิเทศติดตามผลการฝึกประสบการณ์
5. ประเมินจากการนำเสนอประสบการณ์เป็นกลุ่มหลังจากฝึกประสบการณ์
3.1.1   มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2   มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1. การปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกไปฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
2. การทำคู่มือการฝึกประสบการณ์ภาคสนามเพื่อให้นักศึกษาได้ใช้เป็นคู่มือในการฝึกงานภาคสนาม  และให้นักศึกษาบันทึกการฝึกงาน พร้อมปัญหาและอุปสรรค์ และการแก้ไขปัญหา
3. จัดให้มีนิเทศและติดตามผลการฝึกประสบการณ์โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบการฝึกงาน  เพื่อติดตามผลและแก้ไขปัญหาร่วมกับสถานประกอบการ
4. นักศึกษาจัดทำรายงานการฝึกประสบการณ์ภาคสนามเพื่อนำเสนอต่ออาจารย์ผู้ควบคุมการฝึกงาน
5. นำเสนอผลการฝึกงานเป็นรายกลุ่มหลังจากฝึกงานเสร็จ
1. ประเมินผลจากรายงานการฝึกประสบการณ์
2. ประเมินผลจากสมุดบันทึกการฝึกงาน
3. แบบประเมินผลจากการประเมินของสถานประกอบการ
4. ประเมินจากการติดตามผลของอาจารย์นิเทศติดตามผลการฝึกประสบการณ์
5. ประเมินจากการนำเสนอประสบการณ์เป็นกลุ่มหลังจากฝึกประสบการณ์
4.1.1   มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกไปฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
2. การทำคู่มือการฝึกประสบการณ์ภาคสนามเพื่อให้นักศึกษาได้ใช้เป็นคู่มือในการฝึกงานภาคสนาม  และให้นักศึกษาบันทึกการฝึกงาน พร้อมปัญหาและอุปสรรค์ และการแก้ไขปัญหา
3. จัดให้มีนิเทศและติดตามผลการฝึกประสบการณ์โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบการฝึกงาน  เพื่อติดตามผลและแก้ไขปัญหาร่วมกับสถานประกอบการ
4. นักศึกษาจัดทำรายงานการฝึกประสบการณ์ภาคสนามเพื่อนำเสนอต่ออาจารย์ผู้ควบคุมการฝึกงาน
5. นำเสนอผลการฝึกงานเป็นรายกลุ่มหลังจากฝึกงานเสร็จ
1. ประเมินผลจากรายงานการฝึกประสบการณ์
2. ประเมินผลจากสมุดบันทึกการฝึกงาน
3. แบบประเมินผลจากการประเมินของสถานประกอบการ
4. ประเมินจากการติดตามผลของอาจารย์นิเทศติดตามผลการฝึกประสบการณ์
5. ประเมินจากการนำเสนอประสบการณ์เป็นกลุ่มหลังจากฝึกประสบการณ์
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2   สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3   สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. การปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกไปฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
2. การทำคู่มือการฝึกประสบการณ์ภาคสนามเพื่อให้นักศึกษาได้ใช้เป็นคู่มือในการฝึกงานภาคสนาม  และให้นักศึกษาบันทึกการฝึกงาน พร้อมปัญหาและอุปสรรค์ และการแก้ไขปัญหา
3. จัดให้มีนิเทศและติดตามผลการฝึกประสบการณ์โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบการฝึกงาน  เพื่อติดตามผลและแก้ไขปัญหาร่วมกับสถานประกอบการ
4. นักศึกษาจัดทำรายงานการฝึกประสบการณ์ภาคสนามเพื่อนำเสนอต่ออาจารย์ผู้ควบคุมการฝึกงาน
5. นำเสนอผลการฝึกงานเป็นรายกลุ่มหลังจากฝึกงานเสร็จ
1. ประเมินผลจากรายงานการฝึกประสบการณ์
2. ประเมินผลจากสมุดบันทึกการฝึกงาน
3. แบบประเมินผลจากการประเมินของสถานประกอบการ
4. ประเมินจากการติดตามผลของอาจารย์นิเทศติดตามผลการฝึกประสบการณ์
5. ประเมินจากการนำเสนอประสบการณ์เป็นกลุ่มหลังจากฝึกประสบการณ์
6.1.1.  สามารถออกแบบและใช้เครื่องมือปฏิบัติงานสองมิติ
6.1.2.  สารารถสร้างหรือผลิตหุ่นจำลอง ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ
6.1.3.  สามารถออกแบบโดยใช้ทักษะด้านแนวคิดทางการออกแบบ ด้านความงาม ด้านประโยชน์ใช้สอย
1. การปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกไปฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
2. การทำคู่มือการฝึกประสบการณ์ภาคสนามเพื่อให้นักศึกษาได้ใช้เป็นคู่มือในการฝึกงานภาคสนาม  และให้นักศึกษาบันทึกการฝึกงาน พร้อมปัญหาและอุปสรรค์ และการแก้ไขปัญหา
3. จัดให้มีนิเทศและติดตามผลการฝึกประสบการณ์โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบการฝึกงาน  เพื่อติดตามผลและแก้ไขปัญหาร่วมกับสถานประกอบการ
4. นักศึกษาจัดทำรายงานการฝึกประสบการณ์ภาคสนามเพื่อนำเสนอต่ออาจารย์ผู้ควบคุมการฝึกงาน
5. นำเสนอผลการฝึกงานเป็นรายกลุ่มหลังจากฝึกงานเสร็จ
1. ประเมินผลจากรายงานการฝึกประสบการณ์
2. ประเมินผลจากสมุดบันทึกการฝึกงาน
3. แบบประเมินผลจากการประเมินของสถานประกอบการ
4. ประเมินจากการติดตามผลของอาจารย์นิเทศติดตามผลการฝึกประสบการณ์
5. ประเมินจากการนำเสนอประสบการณ์เป็นกลุ่มหลังจากฝึกประสบการณ์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3 6.1 6.2 6.3
1 43020041 ฝึกงานวิชาชีพทางออกแบบอุตสาหกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ๑. หลักเกณฑ์การประเมิน ๑.๑ นักศึกษาต้องเข้าร่วมในทุกขั้นตอนของการฝึกงานภาคสนาม ๑.๒ นักศึกษาต้องได้คะแนนจากการประเมินจากสถานประกอบการและอาจารย์ผู้นิเทศการฝึกงานไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 ๒. กระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา ๒.๑ การประเมินผลมีอยู่ 2 ส่วน คือ ส่วนที่ ๑ ประเมินผลการฝึกงานด้วยแบบประเมินผลการฝึกงานคะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน ส่วนที่ ๒ ประเมินสมุดบันทึกการฝึกงานด้วยแบบประเมินสมุดบันทึกการฝึกงานและเอกสารรายงานการฝึกงาน คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน ๒.๒ ให้เจ้าหน้าที่ในสถานประกอบการที่ควบคุมการทำงานของนักศึกษา มีหน้าที่ประเมินผลการฝึกงานในส่วนที่หนึ่งเมื่อเสร็จสิ้นการฝึกงานแล้วส่งให้อาจารย์นิเทศ ๒.๓ ให้อาจารย์นิเทศก์ประเมินผลในส่วนที่ ๒ ๒.๔ ให้อาจารย์นิเทศการฝึกงานนำคะแนนจากการประเมินทั้งสองส่วนมารวมกันและแปลงคะแนนที่รวมแล้วเป็นร้อยละและระดับคะแนน โดยมีหลักเกณฑ์ดังนี้ คะแนนรวมตั้งแต่ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป ได้ระดับคะแนน ๔ คะแนนรวมตั้งแต่ร้อยละ ๗๐-๗๙ ขึ้นไป ได้ระดับคะแนน ๓ คะแนนรวมตั้งแต่ร้อยละ ๖๐-๖๙ ขึ้นไป ได้ระดับคะแนน ๒ คะแนนรวมตั้งแต่ร้อยละ ๕๐-๕๙ ขึ้นไป ได้ระดับคะแนน ๑ ๒.๕ สำหรับการประเมินผลที่ยึดเกณฑ์ผ่าน (ได้) หรือไม่ผ่าน (ตก) ให้ถือคะแนนตั้งแต่ ๒ ขึ้นไปถือว่า “ผ่าน” ถ้าต่ำกว่า ๒ ถือว่า “ไม่ผ่าน” ๒.๖ ให้อาจารย์นิเทศก์การฝึกงานจัดทำบัญชีผลการประเมินส่งหัวหน้าสาขาวิชาและสาขาที่นักศึกษาสังกัดเพื่อลงนามและส่งฝ่ายวิชาการต่อไป ตลอดทุกสัปดาห์ 100%
- รับผิดชอบในการประเมินรายงาน และสมุดบันทึกการฝึกงาน
- ประเมินอย่างตรงไปตรงมา และสามารถตรวจสอบหลักฐานได้
ผลการประเมินที่แตกต่างย่อมขึ้นอยู่กับ
- สถานประกอบการณ์แต่ละแห่งมีมาตรฐานไม่เหมือนกัน
- ตัวนักศึกษาที่สามารถแสดงศักยภาพ และประพฤติปฏิบัติตัวได้ตามเกณฑ์
- รายงานการฝึกงาน และการจัดทำเอกสารประกอบการฝึกงาน
ปรับแก้ไขตามสถานการณ์ปัจจุบัน
- เมื่อฝึกงานเสร็จแล้วนักศึกษาประเมินสถานประกอบการตามแบบฟอร์มการประเมินสถานประกอบการ
- พนักงานพี่เลี้ยงประเมินผลตามแบบประเมินผลการฝึกงาน
- อาจารย์นิเทศดูแลการฝึกงานประเมินจากสมุดบันทึกการฝึกงานและรายงานรวมทั้งการนำเสนอประสบการณ์การฝึกงาน
เมื่อเสร็จสิ้นการฝึกงานแล้ว นำผลการประเมินทุกส่วน ทั้งของนักศึกษา สถานประกอบการ และ ของอาจารย์นิเทศรวมทั้งปัญหาและอุปสรรค และข้อเสนอแนะของสถานประกอบการเข้าที่ประชุมสาขาวิชา เพื่อช่วยกันหาแนวทางในการปรับปรุงรายวิชาในปีต่อไป