กลศาสตร์วิศวกรรม

Engineering Mechanics

เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการเบื้องต้นของกลศาสตร์ แรงและโมเมนต์ของแรง การสมดุลแรงภายใต้ของไหลที่อยู่นิ่ง แรงในชิ้นส่วนของโครงสร้าง คิเนแมติกส์และคิเนติกส์ของอนุภาคและวัตถุเกร็ง กฎข้อที่สองของนิวตัน งานและพลังงาน การดลและโมเมนต์ตัม
ไม่มี
ศึกษาหลักการเบื้องต้นของกลศาสตร์ แรงและโมเมนต์ของแรง ระบบแรงและผลลัพธ์ของระบบ แรง การสมดุลและการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ แรงภายใต้ของไหลที่อยู่นิ่ง แรงในชิ้นส่วนของโครงสร้าง โครงกรอบและเครื่องจักรกล คิเนแมติกส์และคิเนติกส์ของอนุภาคและวัตถุเกร็ง กฎข้อที่สองของนิวตัน งานและพลังงาน การดลและโมเมนต์ตัม  แก้ไข
6
ความมีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่างๆ ขององค์กรและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1    ให้ความสำคัญในเรื่องการมีวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในระยะเวลาที่กำหนดอาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ให้ความสำคัญต่อการมีวินัย ตรงต่อเวลา และอธิบายระเบียบการเข้าชั้นเรียน
1.2.2    ปลูกฝังเรื่องความชื่อสัตย์สุจริต ตลอดจนจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
1.3.1    ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาภายในห้องเรียน และการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ 
1.3.2    การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา
1.3.3    สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆอย่าต่อเนื่อง
1.3.4    ประเมินจากเนื้อหาของแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน(มีการลอกกันไหม)
หลักการเบื้องต้นของกลศาสตร์ แรงและโมเมนต์ของแรง ระบบแรงและผลลัพธ์ของระบบแรง การสมดุลและการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ แรงภายใต้ของไหลที่อยู่นิ่ง แรงในชิ้นส่วนของโครงสร้าง โครงกรอบและเครื่องจักรกล คิเนแมติกส์และคิเนติกส์ของอนุภาคและวัตถุเกร็ง กฎข้อที่สองของนิวตัน งานและพลังงาน การดลและโมเมนต์ตัม
1    สอน อธิบาย ยกตัวอย่าง ตามเนื้อหาวิชา ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับวิชาการ ในชั้นเรียนในโอกาสต่างๆ
2    อธิบายความเชื่อมโยงของเนื้อหาในวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
3    อธิบายและยกตัวอย่างการประยุกต์แก้ปัญหา
4    มอบหมายงาน
1    สอบย่อย สอบข้อเขียน ทั้งกลางภาค และ ปลายภาค
2    ประเมินผลงานที่มอบหมายจากแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
สามารถคิด วิเคราะห์ สรุปประเด็นปัญหาในด้านกลศาสตร์อย่างมีวิจารณญาณที่ดี และสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างเป็นระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยต้นเอง
จัดกิจกรรมการวิเคราะห์และแก้ปัญหากรณีศึกษาเกี่ยวกับงานทางด้านด้านกลศาสตร์ที่เป็นชิ้นงานจริง แล้วให้นักศึกษาร่วมกันอภิปราย  แก้ไข
ประเมินจากการอภิปราย สรุปประเด็นปัญหา และกระบวนการแก้ไขปัญหา
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนารู้จักบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
มอบหมายให้ศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติมและทำรายงานกลุ่ม
ประเมินจากรายงาน และการนำเสนอรายงานที่ได้รับมอบหมาย
รู้จักบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
มอบหมายให้ศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติมและทำรายงานกลุ่ม
ประเมินจากรายงาน และการนำเสนอรายงานที่ได้รับมอบหมาย
สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณ และเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อช่วยในการทำงานที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาทางด้านด้านกลศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตั้งโจทย์ปัญหาที่ต้องใช้ระเบียบวิธีการคำนวณเชิงตัวเลขในการแก้ปัญหา
ประเมินจากการหาคาตอบโดยวิธีการคำนวณ และวิธีการใช้เครื่องคำนวณหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูป
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
1. เอกสารประกอบการสอน กลศาสตร์วิศวกรรม  มงคลกร ศรีวิชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย  2. Engineering Mechanics R.C.HIBBELER  3. Engineering Mechanics (Statics) J.L. MERIAM L.G. KRAIGE  4. Engineering Mechanics (Dynamics) J.L. MERIAM L.G. KRAIGE
สื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ 
You tube Engineering Mechanics  Thai MOOC
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  - แบบประเมินรายวิชา 
- ผลการสอบ  - แบบประเมินผู้สอน
- มีการเพิ่มกิจกรรมกลุ่ม การสร้างหุ่นยนต์ ขากวัสดุรอบตัวแล้วเบื่อมโยงเข้าสู่กระบวนการเรียนรู้  - การสัมมนาเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน
- ตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์  - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน  แก้ไข