การออกแบบสวนประดับ

Ornamental Gardens Design

1.  เข้าใจความหมายและลักษณะงานออกแบบสวนประดับ
2.  ประเมินการประยุกต์ใช้องค์ประกอบและออกแบบสวนประดับ
3.  พิจารณาเลือกรูปแบบและองค์ประกอบสวนประดับ
4.  มีทักษะในการประยุกต์ใช้องค์ประกอบ รูปแบบและออกแบบภูมิทัศน์ขนาดเล็ก
5.  มีเจตคติที่ดีต่อการออกแบบภูมิทัศน์
เพื่อดำเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญของสวนประดับ ประเภทของสวนประดับ องค์ประกอบของสวนและการออกแบบสวนประดับ การฝึกปฏิบัติในการออกแบบและจัดตกแต่งสวนประดับ การศึกษากรณีศึกษางานสวนประดับ
                Study and practice about the importance of the ornamental garden. Type of ornamental garden. Elements of the garden design and decoration. Practice in the design and decoration, garden ornament. Case studies the ornamental garden.
ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นกลุ่มและรายบุคคลตามความต้องการ 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์โดยนักศึกษาสามารถต่อผู้สอนเพื่อขอคำปรึกษาหรือแนะนำได้ในช่วงเวลาทำงานด้วยตนเองหรือโดยวิธีสื่อสารที่สะดวกดังนี้
สถานที่ติดต่อผู้สอน: ห้องพักอาจารย์สาขาภูมิทัศน์
โทร. 0-54342547ต่อ 118
ให้สัมฤทธิ์ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม
     1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม  จริยธรรม
     2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
     3. มีวินัย  ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
สอนโดยเน้นให้นักศึกษาสามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรม  จริยธรรม  และวิชาชีพโดยใช้ดุลยพินิจ  ทางค่านิยมความรู้สึกของผู้อื่น  ค่านิยมพื้นฐาน และจรรยาบรรณวิชาชีพ แสดงออกซึ่งพฤติกรรมทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม  อาทิมีวินัยมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความขยัน  อดทน  และตรงต่อเวลา เป็นแบบอย่างที่ดี
ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน (แต่งกาย ตรงต่อเวลา มรรยาทในสังคม) ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน(การตอบคำถาม)

     3. ประเมินจากพฤติกรรมการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย(การเตรียมตัว ความรับผิดชอบ
1.  มีความรู้และเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
     2. สามารถติดตามความ ก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
     3.  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
บรรยายเนื้อหาหลักตามจุดมุ่งหมายของรายวิชา โดยแสดงที่มาของทฤษฎีและกฎเกณฑ์ต่าง ๆในเชิงวิเคราะห์ และเน้นให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงาน กระตุ้นให้คิดตามหลักของเหตุและผล พยายามชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีกับสภาพแวดล้อม ที่เกิดขึ้น รวมถึงการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล พร้อมทั้งเสนอแนวทางแก้ไข  ปัญหา เพื่อสามารถนำข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ
กลยุทธ์การสอน
     1. กำหนดหัวข้อในการเรียนรู้ที่
มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ของรายวิชา
     2. ใช้ความสามารถและเทคนิคถ่ายทอด อาทิ เรื่องเล่า ประสบการณ์ กรณีศึกษา
     3. ค้นคว้า เนื้อหาที่ได้รับมอบหมายเพื่อการนำเสนอ
     4. การสร้างผังแนวคิด
     1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
     2. ประเมินคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย
     3. ทักษะการนำเสนอ การตอบคำถาม
1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีทักษะในการนำความรู้
มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
     1. ฝึกนักศึกษาทำงานโครงการด้านภูมิทัศน์ที่ต้องใช้องค์ความรู้  ข้อมูลเพื่อประกอบการคิดวิเคราะห์ และสังเคราะห์โครงการ
    2.   ฝึกนักศึกษาในด้านการนำเสนองานออกมาในรูปกราฟฟิก และฝึกให้นักศึกษานำเสนอผลงานเพื่อให้นักศึกษาได้อธิบายการคิดวิเคราะห์จากงานโครงการที่ได้รับมอบหมาย
    3.   ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริงเพื่อให้นักศึกษาทราบถึงสิ่งที่เกิดขึ้นจริงกับผลงานกระบวนการคิดของนักศึกษา
     1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
     2. ประเมินคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย
     3. ทักษะการนำเสนอ การตอบคำถาม
1. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 2. สามารถทำงานเป็นทีม
และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
 3. สามารถใช้ตวามรู้ใน
ศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม  การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น หรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่น  หรือผู้มีประสบการณ์ 
โดยมีความคาดหวังในผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคล  และความสามารถในการรับผิดชอบ  ดังนี้ 
     1. สามารถทำงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
     2. มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
     3. สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
     4. มีภาวะผู้นำ
1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
     2. ประเมินคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย
     3. ทักษะการนำเสนอ การตอบคำถาม
   1.  สามารถลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
     2. สามารถสืบค้น  ศึกษา  วิเคราะห์  และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
     3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้นักศึกษาได้คิด วิเคราะห์ และนำเสนองานภูมิทัศน์โดยใช้เทคโนโลยีสาระสนเทศได้อย่างเหมาะสม
ประเมินจากการผลการคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลข  การใช้เทคโนโลยีสาระสนเทศและการสื่อสารโดยการนำเสนอผลงาน
สามารถปฏิบัติงานภูมิทัศน์ได้ด้วยความชำนาญ
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติงานให้นักศึกษาได้ปฏิบัติอย่างสมำเสมอ
จากประสิทธิภาพในทักษะการปฏิบัติ   ความถูกต้อง  การแก้ปัญญหาเฉพาะหน้า และคุณภาพของผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 21041203 การออกแบบสวนประดับ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2 1.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน 5%
2 2.1 2.2 2.3 สอบปลายภาค 8 20%
3 3.1 3.2 4.4 5.1 5.2 5.3 6.1 งานมอบหมายและการนำเสนองาน 80%
หลักการออกแบบจัดสวน เอื้อมพร  วีสมหมาย และคณะ
ภูมิทัศน์พื้นฐาน รศ.สุมิยา  ศิริพานิช
มือใหม่หัดจัดสวนระเบียงและดาดฟ้า ทิพาพรรณ  สิริเวชธารักษ์
หลากสไตล์และการจัดสวนอย่างง่ายด้วยตนเอง มุนินทร์ นิลแสง
สวนดูแลง่าย  ทิพาพรรณ  สิริเวชธารักษ์
สวนธรรมชาติ  ธนาศรี  สัมพันธ์ธารักษ์  และคณะ
หลักการออกแบบจัดสวน เอื้อมพร  วีสมหมาย และคณะ
ภูมิทัศน์พื้นฐาน รศ.สุมิยา  ศิริพานิช
มือใหม่หัดจัดสวนระเบียงและดาดฟ้า ทิพาพรรณ  สิริเวชธารักษ์
หลากสไตล์และการจัดสวนอย่างง่ายด้วยตนเอง มุนินทร์  นิลแสง
สวนธรรมชาติ  ธนาศรี  สัมพันธ์ธารักษ์  และคณะ
สวนดูแลง่าย  ทิพาพรรณ  สิริเวชธารักษ์
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 

2.การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
จำนวนหรือร้อยละของผู้เข้าเรียนแต่ละคาบ และการสังเกตพฤติกรรม

2.คำถาม หรือแบบทดสอบ ผลการเรียนรู้ ทั้งห้าด้าน
ทำการปรับปรุงการสอนทุกปีการศึกษา โดยพิจารณาจากผลประเมินรายวิชาโดยผู้เรียน และผลประเมินการสอน
      การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษาโดย
1.  ทวนสอบจากการประเมินพฤติกรรมของผู้เรียน (ลักษณะนิสัย ได้แก่ การเข้าเรียน และการสังเกต
พฤติกรรม) โดยผู้ร่วมรับผิดชอบรายวิชา
2.  การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ที่ได้เรียนผ่านไปแล้ว โดยผู้ร่วมสอนอื่นหรือผู้ร่วมรับผิดชอบรายวิชา
การทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาโดยผู้สอน ดำเนินการทุกปีการศึกษา อาศัย กระบวนการในมคอ.1 มคอ.2 และมคอ.3 โดยเฉพาะผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา (ข้อ 1) ผลประเมินการสอน(ข้อ 2) การปรับปรุงการสอน (ข้อ 3) และการทวนสอบมาตรฐานผลสำฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา (ข้อ 4)

การทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาโดยหลักสูตร คณะ และระดับสถาบัน (มหาวิทยาลัย)สอดคล้องกับนโยบาย ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และการประกันคุณภาพ ฯ