ภูมิทัศน์เมือง

Urban Landscape

: เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
  1.1 .เข้าใจเรื่องเมืองและภูมิทัศน์เมือง
   1.2 จัดทำการศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับเรื่องเมือง
   1.3 วิเคราะห์และสังเคราะห์การศึกษาเบื้องต้น องค์ประกอบ สารรูป และการดำเนินการเกี่ยวกับการออกแบบภูมิทัศน์เมือง
   1.4 มีทักษะในการออกแบบภูมิทัศน์เมือง
   1.5เกิดทัศนะคติที่ดีในการออกแบบภูมิทัศน์เมือง
เพื่อดำเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
 
           ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ เมืองและภูมิทัศน์เมือง การศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับเมือง องค์ประกอบหลักของเมืองและสารรูปของเมือง   การดำเนินการเกี่ยวกับการออกแบบภูมิทัศน์เมือง และการออกแบบภูมิทัศน์เมือง ศึกษากรณีศึกษาภูมิทัศน์เมือง นอกพื้นที่ที่สถานศึกษาตั้งอยู่เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ภูมิทัศน์เมืองในภูมิทัศน์วัฒนธรรมอื่น
Study and practice of Cities and the urban landscape. A preliminary study on the city. The main elements of the city and the city's appearance. Conducted on the design of the urban landscape. And design of the urban landscape. Case study landscape. The study area is located to the learning landscape, cultural landscape
วัน พุธ  เวลา 15.00 - 17.00 น. ห้องพักอาจารย์ โทร... 054 342547-8 ต่อ 118
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
 
š1.1 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
š1.2 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
มีการบรรยายเนื้อหาในด้านกลุ่มวิชาชีพที่เกี่ยวข้องและ ฝึกนักศึกษาในการมีวินัย ตรงต่อเวลา และรับผิดชอบตนเองสอดแทรกเนื้อหาการรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม
ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน (แต่งกาย ตรงต่อเวลา มรรยาทในสังคม) ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน(การอภิปรายผล การตอบคำถาม) ประเมินจากพฤติกรรมการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย(การเตรียมตัว และทักษะในการสื่อสาร)
 
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
˜2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
          บรรยายเนื้อหาในด้านทฤษฎีและหลักการต่างๆที่เกี่ยวข้องและหลักในการปฏิบัติ และฝึกทักษะในการค้นคว้า ข้อมูล วิเคราะห์สังเคราะห์ เพื่อเสนอผลงานด้านภูมิทัศน์เมือง
ประเมินคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย
2.ทักษะการนำเสนอ การตอบคำถาม
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
          เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการบรรยายเนื้อหา และฝึกทักษะที่ต้องประยุกต์องค์ความรู้ โดยทำตามกระบวนการขั้นตอน เพื่อทำผลงานและนำเสนอผลงาน
ประเมินผลงาน ทักษะการนำเสนอ การตอบคำถาม
 
š4.1 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.2  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
จากการปฏิบัติในงานโครงการที่นักศึกษาดำเนินการ
ประเมินจากการดำเนินงานโครงการ
 
˜5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จากการปฏิบัติในงานโครงการที่นักศึกษาดำเนินการ
ประเมินจากการดำเนินงานโครงการ
˜6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยความชำนาญ
จากงานมอบหมายงานโครงการและการนำเสนองาน
จากผลงานโครงการที่ทำ ตลอดจนการนำเสนงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1
1 21042324 ภูมิทัศน์เมือง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-6 การทดสอบแต่ละหน่วยเรียนจากผลงาน 1-16 70
2 2 งานที่มอบหมาย 1,2,3,6 20
3 1-6 จิตพิสัย 1-16 10
             ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม.คู่มือพัฒนาการท่องเที่ยวภูมิทัศน์เมือง.กรุงเทพมหานคร:ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
          สิริวัฒก์ สัมมานิธิ.เอกสารประกอบการสอน วิชา 21042324 ภูมิทัศน์เมือง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาลำปาง
รุจิโรจน์ อนามบุตร.2550.หลักการออกแบบและจัดภูมิทัศน์เมืองเพื่อการท่องเที่ยว.เอกสารประกอบการฝึกอบรมภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม.คณะสถาปัตยกรรม.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เดชา บุญค้ำ.2543.ต้นไม้ใหญ่ในงานก่อสร้างและพัฒนาเมือง.กรุงเทพมหานคร สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.463 หน้า
นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย
,การประเมินผลผลของมหาวิทยาลัยและของอาจารย์ผู้สอน
หลักสูตรและจากอาจารย์ผู้สอน
ทวนสอบจากงานที่มอบหมายและผลงาน
นำข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ 1 และ 2 มาวางแผนเพื่อปรับปรุงในการสอนครั้งต่อไป