ประวัติและแบบอย่างศิลปะไทย

History and style of Thai Art

1. มีความเข้าใจในเรื่องราวของประวัติศาสตร์และรูปแบบของงานศิลปะไทยในยุคสมัยต่างๆ
2. มีทักษะในการจำแนกรูปแบบทางงานศิลปกรรม ตามแนวความคิด ความเชื่อ ศาสนา และคตินิยม ในงานศิลปะไทย
3.ตระหนักและเห็นคุณค่าในงานศิลปะไทย
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ เป็นเอกสารการเตรียมและวางแผนการสอนรายวิชา ประวัติและแบบอย่างศิลปะไทย รหัสวิชา 41014301 สำหรับสอนนักศึกษาหลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์ วิชาเอกศิลปะไทยซึ่งมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับการศึกษาเชิงวิเคราะห์ประวัติศาสตร์และรูปแบบในงานศิลปะไทยเทคนิควิธีการสร้างลักษณะที่มีความเชื่อมโยง การรับและส่งอิทธิพลทางงานศิลปกรรมไทย
ศึกษาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ศิลปะไทย รูปแบบต่างๆ ทั้งแนวคิดเนื้อหา อิทธิพล อายุ แหล่งที่พบและรูปแบบของงานศิลปกรรมในประเทศไทย
 มีความตระหนักรู้คุณค่าในงานศิลปะ
         
         
มีศักยภาพในการค้นคว้าและพัฒนาตนเอง
 มีคุณธรรม  จริยธรรม  รับผิดชอบต่อหน้าที่และสังคม
  มีความรู้  ความเข้าใจในประวัติศาสตร์และรูปแบบทางงานศิลปกรรมไทย
  วิธีการสอนบรรยาย อภิปราย นำเสนอรายงาน วิเคราะห์ สัมนาเชิงวิชาการ สรุปผล
  วิธีการประเมินผลทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินผลงาน/รายงาน
 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนาพัฒนาความคิด และสามารถจำแนกข้อแตกต่างทางงานศิลปกรรม
                ได้ถูกต้อง
วิธีการสอนบรรยาย อภิปรายกลุ่ม ทำรายงาน จัดสัมนาวิชาการ
 วิธีการประเมินผลทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินผลงาน/รายงาน
 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบระหว่างผู้เรียน และผู้สอน
วิธีการสอนจัดกิจกรรมกลุ่ม มอบหมายรายงานกลุ่ม รายงานความก้าวหน้าของงาน
 วิธีการประเมินผลทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินผลงาน/รายงาน
 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 วิธีการสอนค้นคว้าหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต วิเคราะห์ข้อมูล
 วิธีการประเมินผล ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินผลงาน/รายงาน
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ มีความรู้ความเข้าใจท้ังด้านทฤษฎีและการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ ในการสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัย มีทักษะในการร่างและทำต้นแบบผลงานตามที่แต่ละบุคคลถนัดได้ สามารถสร้างสรรค์ผลงาน โดยใช้เทคนิคต่างๆได้อย่างเหมาะสม สามารถวิเคราะห์ปัญหาในการสร้างสรรค์ผลงาน มีทักษะในการสร้างสรรค์ผลงานที่แสดงเอกลักษณ์เฉพาะตนได้อย่างชัดเจน
1 41014301 ประวัติและแบบอย่างศิลปะไทย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ความรู้ ทักษะทางปัญญา สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 16 40% 20%
2 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนอรวบรวมเป็นรูปเล่ม ประเมินการนำเสนอในแต่ละครั้ง 15 16 20% 10%
3 คุณธรรม จริยธรรม จิตพิสัยความสนใจการเรียนสม่ำเสมอการแต่งกายสะอาดการเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
สันติ เล็กสุขุม. (2554). ประวัติศาสตร์ศิลปะไทย [ฉบับย่อ]: การเริ่มต้นและการสืบเนื่องงานช่างใน                           ศาสนา. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.
          สุรพล ดำริห์กุล. (2544). ลายคำล้านนา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.  
          ศักดิ์ชัย สายสิงห์. (2560). เจดีย์ในประเทศไทย : รูปแบบ พัฒนาการและพลังศรัทธา. นนทบุรี: เมือง
                     โบราณ.  
          ภภพพล จันทร์วัฒนกุล. (2560). ๓๐ ปราสาทขอมในเมืองพระนคร. พิมพ์ครั้งที่ 2 (ปรับปรุงใหม่).
                      กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.
          วิทยา พลวิฑูรย์.. (2561). ลายคำจั๋งโก่ ลวดลายแห่งอัตลักษณ์ล้านนา. เชียงใหม่:  โฮงเฮียนสืบสานภูมิ     
                      ปัญญาล้านนา.
แหล่งอ้างอิงที่สำคัญอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ รูปแบบทางงานศิลปกรรม
- วารสาร ทางโบราณคดีทางด้านศิลปะทั้งในและต่างประเทศ
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับศิลปะไทย
- การสร้างกิจกรรมให้นักศึกษาได้กล้าแสดงความคิดเห็น อย่างเป็นหลักการ การมอบหมายกิจกรรมสัมนาทางวิชาการ
- การสังเกตการณ์ และทีมผู้สอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
- การประชุมเชิงปฏิบัติการและการสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
กระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา
- ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ต่างหลักสูตร
- ตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจสอบผลการประเมินและกระบวนการการให้คะแนน
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
          - สลับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากมุมมองทัศนคติ ที่หลากหลาย