ออกแบบนิเทศศิลป์ 3

Visual Communication Design 3

รายวิชานี้มีจุดประสงค์เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถดังนี้ (นำเสนอโดยเทียบเทียงกับผลการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ในหลักสูตร และสัญลักษณ์ที่ใช้มีความหมายดังนี้ ˜ หมายถึง ความรับผิดชอบหลัก / สัญลักษณ์ ™ หมายถึง ความรับผิดชอบรอง)
ด้านคุณธรรมจริยธรรม

™ 1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม ด้านการออกแบบ ™ 2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพออกแบบนิเทศศิลป์ ˜ 3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม ™ 4. เคารพสิทธิในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

 
ด้านความรู้

˜ 1. มีความรู้และเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาด้านออกแบบนิเทศศิลป์ ™ 2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาออกแบบสื่อสาร ™ 3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

 
ด้านทักษะทางปัญญา

˜ 1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการ หรือวิชาชีพด้านออกแบบนิเทศศิลป์ ™ 2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ

 
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

™ 1. มีมนุษย์สัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี ˜ 2. มีภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ ˜ 3. สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม ™ 4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม

 
 
 
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

˜ 1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม ™ 2. สามารถสืบค้น วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม ™ 3. สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 
การสื่อสารที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในยุคปัจจุบัน ทำให้ชีวิตประจำวันของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงไปจากรูปแบบการใช้ชีวิตเดิมๆ การโฆษณามีผลเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคดิจิตอล การผลิตสื่อภาพยนตร์โฆษณาต้องขยายสู่โลกดิจิตอลอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ทันผู้บริโภคที่มีทางเลือกในการรับสื่อออนไลน์หรือจากหลากหลายสื่อทุกชนิดในโลกดิจิตอล
           จากแนวทางข้างต้นจะเห็นว่าสื่อภาพยนตร์โฆษณา จึงมีผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน ทำให้รายวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ 3 จึงได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อบอกเนื้อหาในทางการคิดสร้างสรรค์จัดทำภาพยนตร์โฆษณา การที่จะต้องพัฒนาการเรียนรู้และศึกษากระบวนการทำงานของการผลิตภาพยนตร์โฆษณา
           จึงสามารถพัฒนานักศึกษาให้รู้และเข้าใจการที่จะใช้สื่อภาพยนตร์โฆษณาได้ถูกกลุ่มเป้าหมายหรือถึงกลุ่มผู้บริโภค และเพื่อให้สามารถปฏิบัติการทำงานในระบบสายงานผลิตภาพยนตร์โฆษณาต่างๆ ได้ในยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไป
 
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับภาพยนตร์โฆษณา ประเภทภาพยนตร์โฆษณา ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการผลิตภาพยนตร์โฆษณา การสร้างสรรค์ภาพยนตร์โฆษณา และการผลิตภาพยนตร์โฆษณา
 3.1 อาจารย์ประจำรายวิชา  แจ้งให้นักศึกษาทราบถึงเวลาให้คำปรึกษาในชั่วโมงแรกของการสอน
 3.2 อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
      (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรมด้านออกแบบนิเทศศิลป์
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพด้านออกแบบนิเทศศิลป์
3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4. เคารพสิทธิในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
/ บรรยาย 1(3) / มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล รายงาน) 1(2),1(3) / มอบหมายงานบุคคล (สร้างผลงาน) 1(2),1(3) / มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย สร้างผลงาน) 1(1),1(2),1(3) / นำเสนอข้อมูล 1(2)       / ฝึกปฏิบัติ 1(3) / ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรมและความรับผิดชอบ 1(1),1(3),1(4)
/ ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน 1(3),1(4) / ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด 1(2),1(3) / ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง 1(1),1(2) / ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / ผลงาน) 1(2),1(3) / ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / ผลงาน) 1(1),1(2),1(3) / ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / ผลงานนำเสนอ) 1(2),1(3) / ประเมินจากการสอบข้อเขียน 1(3)             / ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) 1(3),1(4)      
1. มีความรู้และเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาด้านออกแบบนิเทศศิลป์
2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาออกแบบสื่อสาร
3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
/ บรรยาย 2(1),2(2) / มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล รายงาน) 2(1),2(2) / มอบหมายงานบุคคล (สร้างผลงาน) 2(1),2(2),2(3) / มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย สร้างผลงาน) 2(1),2(2),2(3) / นำเสนอข้อมูล 2(1)       / ฝึกปฏิบัติ 2(1),2(3)      
/ ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน 2(1)       / ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง 2(1),2(2) / ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / ผลงาน) 2(1),2(2),2(3) / ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / ผลงาน) 2(1),2(2),2(3) / ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / ผลงานนำเสนอ) 2(3) / ประเมินจากการสอบข้อเขียน 2(1)             / ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) 2(1),2(2),2(3)
1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการ หรือวิชาชีพด้านออกแบบนิเทศศิลป์
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
/ มอบหมายงานบุคคล (สร้างผลงาน) 3(1) / มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย สร้างผลงาน) 3(1),3(2)       / สาธิต/ดูงาน 3(1),3(2) / ฝึกปฏิบัติ 3(1),3(2)
/ ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / ผลงาน) 3(1),3(2) / ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / ผลงาน) 3(1),3(2) / ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / ผลงานนำเสนอ) 3(1),3(2) / ประเมินจากการสอบข้อเขียน 3(2) / ประเมินจากการสอบปฏิบัติ 3(1)             / ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) 3(1)
1. มีมนุษย์สัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี
2. มีภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
/ มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล รายงาน) 4(1),4(2) / มอบหมายงานบุคคล (สร้างผลงาน) 4(1),4(2) / มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย สร้างผลงาน) 4(2),4(3)             / ฝึกปฏิบัติ 4(2),4(3) / ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรมและความรับผิดชอบ 4(1),4(2),4(3),4(4)
/ ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน 4(1)             / ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / ผลงาน) 4(2) / ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / ผลงาน) 4(2),4(3) / ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / ผลงานนำเสนอ) 4(2),4(3)                   / ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) 4(3),4(4)
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2. สามารถสืบค้น วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3. สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
/ มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล รายงาน) 5(2) / มอบหมายงานบุคคล (สร้างผลงาน) 5(1),5(2) / มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย สร้างผลงาน) 5(1),5(2),5(3) / นำเสนอข้อมูล 5(1)
/ ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / ผลงาน) 5(1) / ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / ผลงาน) 5(1),5(2) / ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / ผลงานนำเสนอ) 5(2),5(3) / ประเมินจากการสอบข้อเขียน 5(1),5(2)
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความ สัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 43011303 ออกแบบนิเทศศิลป์ 3
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน การสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง 1(3),1(4) 2(1),2(2),2(3) 4(1),4(3),4(4) 1-15 5
2 การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง 1(2),1(3) 2(1),2(2) 2-15 5
3 ผลงานรายบุคคล (วิเคราะห์สินค้าและผลิตภัณฑ์) 1(2),1(3) 2(1),2(2),2(3) 3(1),3(2) 4(2),5(1) 2-15 15
4 ผลงานกลุ่ม (การผลิตภาพยนตร์โฆษณา) 1(1),1(2),1(3) 2(1),2(2),2(3) 3(1),3(2) 4(2),4(3) 5(1),5(2) 2-15 30
5 การนำเสนอ 1(2),1(3) 2(3),3(1),3(2) 4(2),4(3) 5(2),5(3) 2-15 10
6 การสอบข้อเขียน (สอบเก็บคะแนน สอบกลางภาค สอบปลายภาค) 1(3) 2(1) 3(2) 5(1),5(2) 9-17 30
- เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ออกแบบนิเทศศิลป์ 3
เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์.(2553).การคิดเชิงสร้างสรรค์.พิมพ์ครั้งที่ 7.กรุงเทพฯ: ซัคเซส  มีเดีย จำกัด.
การ์ เรย์โนลด์ส .(2553). พรีเชนเทชั่นเซน กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ขวัญข้าว ๙๔
กัญจนิพัฐ  วงศ์สุเมธรต์.(2549). กระบวนการทำงานโฆษณา. กรุงเทพฯ: คณะวิทยาการจัดการ             มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
กัญญา  ศิริกุล.(2541).การบริหารกิจการโฆษณา.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง
          กัลยากร วรกุลลัฎฐานีย์ และ พรทิพย์  สัมปัตตะวานิช.(2551). การโฆษณาเบื้องต้น. กรุงเทพ      
          สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 
มนต์ทิวา  มหาคุณ และนเรศ  มหาคุณ.(2551).สร้างสรรค์สร้างได้. กรุงเทพฯ:บริษัทซีเอ็ด ยูเคชั่น
เอ็ดเวิร์ด  เดอร์โบโน่ (2553).ทลายกรอบความคิด.สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
              1. หนังสือ เรื่อง ต้นแบบนักคิดนวัตกรรม  เขียนโดย เกรกอรี่ เบิร์น
              2. หนังสือทลายกรอบความคิด
              3. หนังสือเรื่องกับดักทางความคิด
              4. เวปไซต์ Marketing Oops!, Brand Buffet. Marketeer Magazine
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ