การฝึกพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกล
Basic Mechanical Engineering Training
ปฎิบัติงานเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือถ่ายแบบ เครื่องมือวัดพื้นฐาน เครื่องมือขนาดเล็ก การปฎิบัติงาน ปรับแต่ง การทำเกลียวด้วย ต๊าปและดาย เข้าใจในคุณสมบัติและการใช้งานของโลหะทั่วๆ ไป และเครื่องมือปรับแต่ง พื้นฐานอื่นๆ
เพื่อให้นักศึกษามีทักษะความเข้าใจ ในการที่จะการนำความรู้ ความเข้าใจในหลักการปฎิบัติงานฝึกฝีมือ พื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกล มาวางแผนและการดำเนินงานปฎิบัติงานฝึกฝีมือให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้าน เทคโนโลยีอุตสาหกรรมที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ปฏิบัติงานพื้นฐานทางด้านวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เครื่องมือวัดและเครื่องมือวัดละเอียด การใช้ตะไบลดขนาดชิ้นงาน การใช้เลื่อยมือ การเจาะและกลึงชิ้นงาน การทำเกลียวนอกและเกลียวใน การเชื่อมชิ้นงาน ตลอดจน เครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ ในงานวิศวกรรมพื้นฐาน การปฏิบัติงานตามคำสั่งที่ได้รับมอบหมาย และการปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงความปลอดภัยอยู่เสมอ
สัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง
3.1 วัน พุธ เวลา 15.00 – 17.00 น. ห้อง 731
3.2 E-mail; nichbooniam@gmail.com และ โทรศัพท์มือถือ; 088-1620600
3.1 วัน พุธ เวลา 15.00 – 17.00 น. ห้อง 731
3.2 E-mail; nichbooniam@gmail.com และ โทรศัพท์มือถือ; 088-1620600
(1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
(2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
(3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
(4) เคารพในคุณค่าและศักดี้ศรีของความเป็นมนุษย์
1. สอดแทรกตัวอย่างให้เห็นหน้าที่ความรับผิดชอบของอาชีพวิศวกร และผลกระทบที่จะเกิดขึ้นหากไม่ปฏิบัติตาม
2. สอดแทรกแนวคิดเรื่องระเบียบวินัย เคารพระเบียบ ข้อบังคับ เช่น การตรงต่อเวลา มารยาทการใช้อุปกรณ์ การเป็นผู้ฟังที่ดี เป็นต้น
3. ปลูกฝังให้ตระหนักถึงความซื่อสัตย์ กำหนดบทลงโทษ และผลกระทบต่อตนเอง สังคม จากพฤติกรรมดังกล่าว
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2. สังเกตพฤติกรรมต่างๆ ของนักศึกษาที่เกิดระหว่างการทดลองใช้วิธีการสอนในข้อข้างต้นว่า
เป็นไปตามคาดหมายไว้หรือไม่ ถ้าไม่เป็นไปตามที่คาดหมายก็อาจเปลี่ยนสถานการณ์ให้
เหมาะสมมากขึ้น
(1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งต้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ ศึกษา
(2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ ศึกษา
(3) สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องในปัจจุบัน โดยนำมาสรุปและนำเสนอ
1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2. ประเมินจากงานที่มอบหมายให้ไปค้นคว้า
(1) มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือ วิชาชีพ
(2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1. การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษ ที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา แล้วนำเสนอผลงาน
2. อภิปรายกลุ่ม
3. วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
4. การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
1. สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้
2. วัดผลจากการประเมินผลงานที่มอบหมาย
3.สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
(1) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
(2) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
(3) สามารถทำงานเป็นทีมและแกไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
(4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2. มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี การนำ
ตัวอย่างการใช้การศึกษางาน หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
3. การนำเสนอรายงาน
1. ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
2. ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
(1) เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม
(2) สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแกไฃป้ญหาอย่าง เหมาะสม
(3) ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตาม กาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
2. นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
2. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
(1) มีจินตนาการในการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจและแก้ปัญหาที่มี ความสลับซับซ้อน ในการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนานวัตกรรม
(2) มีทักษะในการเป็นผู้นำความรู้เพื่อการสืบค้นข้อมูล วินิจฉัย วิเคราะห์ และสรุปประเด็นของสารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ
1. นำความรู้ไปใช้สนับสนุนการทำโครงงานของนักศึกษา
2. การออกไปปฏิบัติงานจริงในการสร้างและออกแบบงานโครงงาน
1. ประเมินจากความสำเร็จของโครงงานนักศึกษา
2. ประเมินจากปฏิบัติการสร้างและออกแบบงานโครงงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2.ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6.ทักษะการจัดการเรียนรู้ | |||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 |
1 | ENGME106 | การฝึกพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกล |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | วัดตรวจสอบขนาดของชิ้นงานตามใบงานที่กำหนด การนำเสนอผลงาน | ตลอดภาคการศึกษา | 50% 20% | |
2 | วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงานผลงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การปฎิบัติงานตามที่กำหนด การส่งงานตามที่มอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา | 20% | |
3 | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
- เอกสารประกอบการสอน และใบงานการฝึกพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกล Mechanical Technology Training เรียบเรียงโดย อาจารย์สมาน ดาวเวียงกัน
- หนังสือเรียนอิเล็กทรอนิกส์ วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้นของบริษัท สำนักพิมพ์ เอมพันธ์
- หนังสือเรียนอิเล็กทรอนิกส์ วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้นของบริษัท สำนักพิมพ์ เอมพันธ์
-
- เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น การปฎิบัติงานฝึกฝีมือพื้นฐาน, เครื่องมือวัด, เครื่องมือถ่ายแบบ, การทำเกลียวด้วย การต๊าปและดาย
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด Appication LINE ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด Appication LINE ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจeหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะปรับปรุงการสอนในข้อ 3. และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ตามข้อ 4.
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ใช้ความรู้