องค์ประกอบศิลป์ 1

Composition 1

1. รู้และเข้าใจการจัดองค์ประกอบศิลปะ
2. ค้นคว้าทดลองการจัดองค์ประกอบศิลปะของศิลปิน โดยเน้นความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบกับเนื้อหา
3. ปฏิบัติเกี่ยวกับการค้นคว้า ทดลองในการจัดองค์ประกอบศิลปะในแนวทางเฉพาะตนทั้งเนื้อหาและเทคนิควิธีการตลอดจนการนำเสนอผลงาน
4. เห็นคุณค่าความสำคัญของการจัดองค์ประกอบศิลป์ในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะที่สามารถสะท้อนความหลากหลายผลงานที่มีคุณค่าทางศิลปะ
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ เป็นเอกสารการเตรียมและวางแผนการสอนรายวิชา องค์ประกอบศิลป์ 1 สำหรับสอนนักศึกษาหลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์ ซึ่งมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับทักษะในการใช้ทัศนธาตุทางศิลปะนำมาจัดองค์ประกอบศิลป์ โดยความรู้ความสามารถจากความเข้าใจในรูปแบบ เทคนิคและเนื้อหาทางองค์ประกอบศิลป์ มาใช้ในการพัฒนาผลงานต่อไป
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ทัศนธาตุทางศิลปะนำมาจัดองค์ประกอบศิลป์ โดยเน้นรูปแบบ เทคนิคและเนื้อหาให้มีความสัมพันธ์สอดคล้องกัน
Study and practice how to use visual elements in composition with a focus on forms, techniques and concepts.
อาจารย์ผู้สอนจะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน จำนวน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
ข้อ ๑ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ข้อ ๒ มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น ข้อ ๓ มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งจรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา สอนให้มีระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด ระยะเวลา ที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
 
ข้อ ๑ รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง ข้อ ๒ มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ ข้อ ๓ มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
ใช้การเรียนการสอน โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการปฏิบัติงาน ทั้งนี้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาองค์ประกอบศิลป์ 1 ตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชา
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา
ในด้านต่าง ๆ คือ
๑. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
๒. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
๓. ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
ข้อ ๑ สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ ข้อ ๒ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
ใช้กรณีศึกษา การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยว และร่วมแสดงความคิดเห็นของนักศึกษา
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน การปฏิบัติงานของนักศึกษา และการนำเสนองาน
ข้อ ๑ มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ข้อ ๒ มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อ ๓ สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงานในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
ข้อ ๑ มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ ข้อ ๒ มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง ข้อ ๓ มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีการทำตามแบบตามใบงาน และการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยรวมทั้งการสร้างสรรค์ผลงานตามแนวคิดในลักษณะเฉพาะตนเอง
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงานสร้างสรรค์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ๑. คุณธรรม จริยธรรม ๒. ความรู้ ๓. ทักษะทางปัญญา ๔. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ๖. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ข้อ ๑ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ข้อ ๒ มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น ข้อ ๓ มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ ข้อ ๑ รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง ข้อ ๒ มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ ข้อ ๓ มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม ข้อ ๔ มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา ข้อ ๑ สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ ข้อ ๒ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ ข้อ ๓ สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ ข้อ ๔ มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน ข้อ ๑ มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ข้อ ๒ มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อ ๓ สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง ข้อ ๓ มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม ข้อ ๑ สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อ ๒ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อ ๑ มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ ข้อ ๒ มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง ข้อ ๓ มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BFAVA112 องค์ประกอบศิลป์ 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรมและจริยธรรม - ประเมินจากการมีวินัยในการเข้าชั้นเรียน การเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ความรับผิด ชอบส่งงานตามกำหนด และมีความรับผิดชอบในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย 1-17 10%
2 ด้านความรู้ - ประเมินจากการทดสอบแต่ละหน่วยเรียน การสอบกลางภาค การสอบปลายภาคเรียน และผลงานที่ปฏิบัติ 1-17 30%
3 ด้านปัญญา - ประเมินจากเอกสารกระบวนการสร้างสรรค์ในแต่ละหน่วยเรียน 1-8,10-16 10%
4 ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์ - ประเมินจากรายงานที่มอบหมาย 1-8,10-16 10%
5 เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
6 ด้านทักษะพิสัย ประเมินจากการใช้วัสดุ แนวความคิดโดยสามารถสร้างสรรค์ผลงานโดยใช้ เทคนิคต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม และแก้ไขปัญหาในการสร้างสรรค์ 1-8,10-16 40%
- ชลูด นิ่มเสมอ การเข้าถึงศิลปะในงานจิตรกรรมไทย กรุงเทพฯ, บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุ๊พ จำกัด, 2532. 116 หน้า ISBN-974-8359-02-6
-ชลูด นิ่มเสมอ. องค์ประกอบของศิลปะ. กรุงเทพฯ : อมรินทร์ , 2553.
แหล่งอ้างอิงที่สำคัญอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์งานศิลปะ
- วารสาร ศิลปะทั้งในและต่างประเทศ เช่น Arts of asia , fine arts, C art ,art4D
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับศิลปะ
- การสังเกตการณ์ และทีมผู้สอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- การทำผลงานทางวิชาการ การสร้างสรรค์ศิลปะ
- การประชุมเชิงปฏิบัติการและการสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
กระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา
- ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ต่างหลักสูตร
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4