การบัญชีต้นทุน 2

Cost Accounting 2

1.1 เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับ แนวคิด หลักการและวิธีการใช้ข้อมูลต้นทุนเพื่อการตัดสินใจวางแผนและควบคุมการดำเนินงานภายใต้สถานการณ์ที่แน่นอนและไม่แน่นอน เช่น การงบประมาณ ความสัมพันธ์และการวิเคราะห์ต้นทุน ปริมาณ และกำไร การควบคุมสินค้าคงคลัง
1.2 เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับ แนวคิด หลักการ เกี่ยวกับระบบต้นทุนฐานกิจกรรม ระบบต้นทุนผันแปร การกำหนดราคาสินค้า ราคาโอน การประเมินการปฏิบัติงาน
1.3 เพื่อให้นักศึกษาทำการศึกษาค้นคว้า การนำข้อมูลด้านต้นทุนมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาองค์กร
2.1 เพื่อพัฒนาความรู้ของนักศึกษาในการใช้ข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนเพื่อการตัดสินใจ
2.2 เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีผลการเรียนรู้ที่คาดหวังให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการบัญชี
ศึกษาการใช้ข้อมูลต้นทุนเพื่อการตัดสินใจวางแผนและควบคุมการดำเนินงานของฝ่ายบริหารภายใต้สถานการณ์ที่แน่นอนและไม่แน่นอน เช่น การงบประมาณ การวางแผนและควบคุมสินค้าคงคลัง ความสัมพันธ์และการวิเคราะห์ต้นทุน ปริมาณ และกำไร ระบบต้นทุนฐานกิจกรรม ระบบต้นทุนรวม ระบบต้นทุนผันแปรการกำหนดราคาสินค้า ราคาโอน การประเมินผลการปฏิบัติงาน
นักศึกษาสามารถเข้าพบได้ตามตารางเวลาให้นักศึกษาเข้าพบ โดยประมาณ 6 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
๑) มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
๒) มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและสังคม
1) กำหนดข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนและระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับนักศึกษา เช่น การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การเข้าชั้นเรียน ความรับผิชอบต่อการทำงานที่ได้รับมอบหมายเป็นกลุ่ม การส่งงานตามกำหนดเวลา
2) สอดแทรกหัวข้อคุณธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณวิชาชีพ
๑) ติดตามการปฏิบัติตามข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียน ตลอดภาคการศึกษาและให้คะแนน 10%
๒) ผู้สอนประเมินผลการนำเสนอผลการนำเสนอผลงานที่มอบหมายเป็นกลุ่ม 10%
๑) แนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชีเกี่ยวกับและวิธีการใช้ข้อมูลต้นทุนเพื่อการตัดสินใจวางแผนและควบคุมการดำเนินงานภายใต้สถานการณ์ที่แน่นอนและไม่แน่นอน เช่น การงบประมาณ ความสัมพันธ์และการวิเคราะห์ต้นทุน ปริมาณ และกำไร การควบคุมสินค้าคงคลัง ระบบต้นทุนฐานกิจกรรม ระบบต้นทุนผันแปรการกำหนดราคาสินค้า ราคาโอน การประเมินการปฏิบัติงาน
๒) ความรู้ด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ได้แก่ แนวคิดเกี่ยวกับเครื่องมือการบริหารแบบใหม่ เช่น ABM
๓) เทคนิคการการใช้ข้อมูลต้นทุนเพื่อการตัดสินใจวางแผนและควบคุมการดำเนินงานภายใต้สถานการณ์ที่แน่นอนและไม่แน่นอน
๑) ใช้วิธีการสอนหลายรูปแบบ ตามลักษณะของเนื้อหาวิชา เช่นการบรรยาย ยกตัวอย่าง สาธิต
และการถาม-ตอบในชั้นเรียนการบรรยาย
๒) ฝึกหัดการแก้ปัญหาโจทย์แบบฝึกหัดจากระดับที่ง่ายไปสู่ระดับที่สูง
๑) การทดสอบย่อย
๒) การสอบกลางภาค
๓) การสอบปลายภาค
๑) สามารถสืบค้นข้อมูลประมวลผลข้อมูลและแนวคิดต่างๆเพื่อนำมาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง
2) สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลเกี่ยวกับข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นมาประยุกต์กับการบัญชีต้นทุน 2 และรายงานได้อย่างถูกต้อง
๑) ใช้วิธีการสอนหลายรูปแบบ ตามลักษณะของเนื้อหาวิชา เช่นการบรรยาย ยกตัวอย่าง สาธิต
และการถาม-ตอบในชั้นเรียน
๒) เปิดโอกาสให้นักศึกษา ค้นคว้า นำเสนอหน้าชั้นเรียน
๑) การทดสอบย่อย
๒) การสอบกลางภาค
๓) การสอบปลายภาค
๔) คุณภาพการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมายหน้าชั้นเรียน
๑) สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด
๒) สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นในกลุ่มได้
3) มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไข
ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมงาน
4) สามารถปรับตัวทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างเหมาะสม
ทำงานกลุ่ม โดยกำหนดหัวข้อให้
1) คุณภาพผลงานที่ได้รับมอบหมายนำเสนอหน้าขั้นเรียน
2) การซักถามเป็นรายบุคคล
สามารถรายงานผลการศึกษาค้นคว้าทั้งการรายงานด้วยวาจาและการเขียนรายงาน ตามงานที่ได้รับมอบหมาย

2. มีความสามารถในการเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปรับปรุงข้อเสียที่ค้นผลพบในการวิเคราะห์
ฝึกหัดการแก้ปัญหาโจทย์แบบฝึกหัดจากระดับที่ง่ายไปสู่ระดับที่สูงขึ้นจัดทำสื่อประกอบการรายงานและการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย การทดสอบย่อย การสอบกลางภาค และการสอบปลายภาค

 
สามารถคำนวณต้นทุนการผลิตสินค้า (สินค้าในรูปแบบของตนเอง) พร้อมบอกถึงต้นทุนปริมาณและกำไรในการดำเนินการผลิตสินค้าชนิดนั้นอย่างถูกต้อง สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลในรูปของงบประมาณเพื่อการวางแผนและการ ควบคุม การกำหนดราคาสินค้า การวิเคราะห์เพื่อการลงทุนและวิเคราะห์งบการเงินได้อย่างถูกต้อง
๑) ใช้วิธีการสอนโดยให้นักศึกษาจับกลุ่มตามความสมัครใจกลุ่มละไม่เกิน 3 คน เลือกสินค้าที่ตนเองมี ความเชี่ยวชาญในการผลิต สนใจและสามารถทำได้จริงแสดงการคำนวณต้นทุนการผลิต กำหนดราคาขาย คำนวณต้นทุน ปริมาณ กำไร พร้อมจัดทำงบประมาณการดำเนินงานและการเงิน รวมถึง วิเคราะห์เพื่อการลงทุนและวิเคราะห์งบการเงินได้
๒) นำเสนอผลงานในรูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมเช่น Power point และสินค้าจริงเป็นต้น
ประเมินจากผลงานที่มอบหมายให้ทำและสังเกตจากการนำเสนองานรายบุคคลสามารถนำเสนอได้อย่างคล่องแคล่วว่องไว ดูเป็นธรรมชาติไม่ขัดเขิน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู็ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3
1 11012303 การบัญชีต้นทุน 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2,3,5 การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค การสอบย่อย 8 17 9 30% 30% 20%
2 2,3,4,5 งานแบบฝึกปฏิบัติที่มอบหมาย การมีส่วนร่วมในการอภิปราย 2-13 10%
3 1,2,3,4,5 พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนและการแต่งกายให้ถูกระเบียบ ทุกสัปดาห์ 10%
เอกสารประกอบการสอน วิชาการบัญชีต้นทุน 2 ปีการศึกษา 2/2561 โดย ดร.สรินยา สุภัทรานนท์
 
การบัญชีต้นทุน 2 โดย ผศ.ดร.กัญฐณา ดิษฐ์แก้ว,
การบัญชีบริหาร โดย อาจารย์สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์
www.thailandaccount.com www.fap.or.th
www.rd.go.th
-
ใช้การทดสอบย่อย
ใช้แบบประเมินประสิทธิภาพการสอนของมหาวิทยาลัยเมื่อสิ้นภาคการศึกษา ระบบออนไลน์
เน้นให้นักศึกษาเข้าใจการใช้แนวคิดการนำข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนเพื่อใช้เป็นเครื่องมือประกอบการตัดสินใจ
ให้กรรมการด้านวิชาการเป็นผู้ประเมินโดยพิจารณาจากข้อสอบและการตัดเกรด
รองคณะบดีฝ่ายวิชาการเป็นผู้นำเสนอข้อสอบและการตัดเกรด ก่อนที่จะมีการสอบและการ ประกาศผล นำผลการประเมินในข้อ 1 และข้อ 2 ประกอบการพิจารณาข้อบกพร่องของวิธีการสอน วิธีการประเมิน และเนื้อหารายวิชา