การบริหารการผลิต
Production Management
ศึกษาเกี่ยวกับ ลักษณะความสำคัญของการผลิต และปัจจัยเกี่ยวกับการตัดสินใจ การผลิตซึ่งรวมถึงระบบการผลิต การจัดองค์เพื่อการผลิต การวางแผนเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และกำลังการผลิต การวางแผนและกระบวนการผลิต การเลือกที่ตั้งโรงงาน การควบคุมคุณภาพและปริมาณ ระบบการบำรุงรักษา ระบบการจัดซื้อและระบบการควบคุมสินค้าคงเหลือ
ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
ศึกษาเกี่ยวกับ ลักษณะความสำคัญของการผลิต และปัจจัยเกี่ยวกับการตัดสินใจ การผลิตซึ่งรวมถึงระบบการผลิต การจัดองค์เพื่อการผลิต การวางแผนเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และกำลังการผลิต การวางแผนและกระบวนการผลิต การเลือกที่ตั้งโรงงาน การควบคุมคุณภาพและปริมาณ ระบบการบำรุงรักษา ระบบการจัดซื้อและระบบการควบคุมสินค้าคงเหลือ
1 ชั่วโมง
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเองและสังคม
ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงาน
ภายในเวลาที่กำหนด
ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงาน
ภายในเวลาที่กำหนด
สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติ ตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ
การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา
การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา
มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
สามารถ บูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
สามารถ บูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
มอบหมายงานให้นักศึกษาทำรายงาน
ให้นักศึกษาเรียนรู้ประสบการณ์ตรง โดยการศึกษาดูงาน
ให้นักศึกษาเรียนรู้ประสบการณ์ตรง โดยการศึกษาดูงาน
พิจารณาจากงานที่มอบหมาย
ประเมินผลจากการทำงาน การทดสอบย่อย ทำแบบฝึกหัด
ประเมินผลจากการทำงาน การทดสอบย่อย ทำแบบฝึกหัด
มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
การศึกษา ค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร
มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์
มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์
ประเมินจากงานที่มอบหมาย
ตอบคำถามในห้องเรียน
ตอบคำถามในห้องเรียน
มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดีงามมีความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
กำหนดการทำงานเป็นกลุ่มหมุนเวียนกันเป็นผู้นำ
ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์ และนักศึกษา
สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ส่งเสริมการค้นคว้า และนำเสนอ
มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ ความรับผิดชอบและมีความร่วมมือกัน เป็นอย่างดี
มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ ความรับผิดชอบและมีความร่วมมือกัน เป็นอย่างดี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | คุณธรรมจริยธรรม | คุวามรู้ | ทักษะทางปัญญา | ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | ทัักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและเทคโนโลยีสารสนเทศ | ทักษะพิิสัย | |||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | ๅ | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 |
1 | ENGAG108 | การบริหารการผลิต |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | หน่วยที่ 1 ถึง หน่วยที่ 3 หน่วยที่ 4 ถึง หน่วยที่ 5 หน่วยที่ 6 ถึง หน่วยที่ 7 หน่วยที่ 8 ถึง หน่วยที่ 9 | ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาคเรียน ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาคเรียน | 4 8 12 17 | |
2 | หน่วยที่ 1 ถึง หน่วยที่ 9 | แบบฝึกหัด การนำเสนอในชั้นเรียน | ||
3 | การเข้าชั้นเรียน ความเอาใจใส่ในห้องเรียน | 15 | 10% |
พีระ ยวงสุวรรณ. กลยุทธ์ในงานบำรุงรักษา. อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ . สถาบันไทย-เยอรมัน , กรุงเทพฯ: 2545
นภัสสวงค์ โอสถศิลป์. สถาบันพัฒนาธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต , กรุงเทพฯ : 2540
ธานี อ่วมอ้อ. การบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม. พีคบูลส์การพิมพ์ , กรุงเทพฯ :2546
ธานี อ่วมอ้อ. การบำรุงรักษาด้วยตนเอง. พีคบูลส์การพิมพ์ , กรุงเทพฯ :2547
พูลพร แสงบางปลา. การเพิ่มผลผลิตโดยการบำรุงรักษา (TPM ). คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิมพ์ที่โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , กรุงเทพฯ :2538
เสนาะ ติเยาว์ . หลักการบริหาและการวางแผน. พิมพ์ที่หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ : 2543
สมศักดิ์ มาอุทรณ์. การดำเนินกิจกรรมกลุ่มย่อย TPM อย่างง่ายๆ. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) . บริษัทประชาชนการพิมพ์, กรุงเทพฯ :2538
ไกรวิทย์ เศรษฐวนิช. การจัดการวิศวกรรมซ่อมบำรุง เชิงปฏิบัติ . พิมพ์ที่ ส. เอกชัยเพรส ซีเอ็ดยูเคชั่น, กรุงเทพฯ :2549
สุพร อัศวินนิมิตรและธีรพร พัดภู่. วิศวกรรมการบำรุงรักษา. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ : 2550
วีรพงษ์ เฉลิมจิระรัตน์. คู่มือวิศวกรโรงงาน วิศวกรรมและการบริหารความปลอดภัย. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น) ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. สถิติการพิมพ์, กรุงเทพฯ : 2525
ณรงค์ ณ เชียงใหม่. การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม.ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ . สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ : 2537
สมัคร จรูญพันธ์. พื้นฐานวิชาชีพวิศวกรรม. มหาวิทยาลัยรังสิต, กรุงเทพฯ : 2539
โกศล ดีศิลธรรม. การจัดการบำรุงรักษาสำหรับงานอุตสาหกรรม. สำนักพิมพ์บริษัท เอ็มแอนด์ อี จำกัด, กรุงเทพฯ : 2547
ชูเวช ชาญสง่าเวช. การจัดการทางวิศวกรรม. ศูนย์หนังสือจุฬา. โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ : 2539
ไกรวิทย์ เศรษฐวนิช. การจัดการวิศวกรรมซ่อมบำรุง เชิงปฎิบัติ .พิมพ์ที่ บริษัท ซีเอ็ดยูเดชั้น , กรุงเทพฯ : 2549
กฤชชัย อนรรฆมณี และ เชษฐพงศ์ สันธารา. พลังการสื่อสารเพิ่มประสิธิภาพองค์การ. พิมพ์ที่ซีโนดีไซน์, กรุงเทพฯ : 2546
สมชัย อัครทิวา. TPM เพื่อการปฏิรูปการผลิต. ฉบับอุตสาหกรรมกระบวนการ . สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น). พิมพ์ที่ ส.ส.ท. , กรุงเทพฯ : 2547
นภัสสวงค์ โอสถศิลป์. สถาบันพัฒนาธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต , กรุงเทพฯ : 2540
ธานี อ่วมอ้อ. การบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม. พีคบูลส์การพิมพ์ , กรุงเทพฯ :2546
ธานี อ่วมอ้อ. การบำรุงรักษาด้วยตนเอง. พีคบูลส์การพิมพ์ , กรุงเทพฯ :2547
พูลพร แสงบางปลา. การเพิ่มผลผลิตโดยการบำรุงรักษา (TPM ). คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิมพ์ที่โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , กรุงเทพฯ :2538
เสนาะ ติเยาว์ . หลักการบริหาและการวางแผน. พิมพ์ที่หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ : 2543
สมศักดิ์ มาอุทรณ์. การดำเนินกิจกรรมกลุ่มย่อย TPM อย่างง่ายๆ. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) . บริษัทประชาชนการพิมพ์, กรุงเทพฯ :2538
ไกรวิทย์ เศรษฐวนิช. การจัดการวิศวกรรมซ่อมบำรุง เชิงปฏิบัติ . พิมพ์ที่ ส. เอกชัยเพรส ซีเอ็ดยูเคชั่น, กรุงเทพฯ :2549
สุพร อัศวินนิมิตรและธีรพร พัดภู่. วิศวกรรมการบำรุงรักษา. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ : 2550
วีรพงษ์ เฉลิมจิระรัตน์. คู่มือวิศวกรโรงงาน วิศวกรรมและการบริหารความปลอดภัย. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น) ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. สถิติการพิมพ์, กรุงเทพฯ : 2525
ณรงค์ ณ เชียงใหม่. การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม.ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ . สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ : 2537
สมัคร จรูญพันธ์. พื้นฐานวิชาชีพวิศวกรรม. มหาวิทยาลัยรังสิต, กรุงเทพฯ : 2539
โกศล ดีศิลธรรม. การจัดการบำรุงรักษาสำหรับงานอุตสาหกรรม. สำนักพิมพ์บริษัท เอ็มแอนด์ อี จำกัด, กรุงเทพฯ : 2547
ชูเวช ชาญสง่าเวช. การจัดการทางวิศวกรรม. ศูนย์หนังสือจุฬา. โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ : 2539
ไกรวิทย์ เศรษฐวนิช. การจัดการวิศวกรรมซ่อมบำรุง เชิงปฎิบัติ .พิมพ์ที่ บริษัท ซีเอ็ดยูเดชั้น , กรุงเทพฯ : 2549
กฤชชัย อนรรฆมณี และ เชษฐพงศ์ สันธารา. พลังการสื่อสารเพิ่มประสิธิภาพองค์การ. พิมพ์ที่ซีโนดีไซน์, กรุงเทพฯ : 2546
สมชัย อัครทิวา. TPM เพื่อการปฏิรูปการผลิต. ฉบับอุตสาหกรรมกระบวนการ . สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น). พิมพ์ที่ ส.ส.ท. , กรุงเทพฯ : 2547
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ