วิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพ
Science for Health
มีความเข้าใจกระบวนการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ
มีความเข้าใจถูกต้องในการใช้สารเคมีในชีวิตประจำวัน
มีความเข้าใจถึงผลกระทบของสารเคมีต่อสิ่งแวดล้อม
มีความรู้เบื้องต้นในด้านอาหารเพื่อสุขภาพ
มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรคสำคัญที่มีผลกระทบทางสังคมและการป้องกัน
มีแนวคิดเชิงบวกในการสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวม
มีความรู้ทันความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ที่มีต่อมนุษย์ สภาพแวดล้อม สังคม การเมืองและวัฒนธรรม
มีเจตคติที่ดีต่อการศึกษาวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพ
สามารถประยุกต์ความรู้ไปใช้ได้อย่างเหมาะสม
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพ ซึ่งเป็นการเตรียมพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมีการเปลี่ยนแปลง ตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
2. เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การใช้สารเคมีในชีวิตประจำวันและผลกระทบของสารเคมีต่อสิ่งแวดล้อม อาหารเพื่อสุขภาพ โรคสำคัญที่มีผลกระทบทางสังคมและการป้องกัน แนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวม ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ที่มีต่อมนุษย์ สภาพแวดล้อม สังคม การเมืองและวัฒนธรรม
3
1.1 มีจิตนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา
2. ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานในเวลาที่กำหนด
3. กำหนดข้อตกลงร่วมกันในการวัดผลระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
2. ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานในเวลาที่กำหนด
3. กำหนดข้อตกลงร่วมกันในการวัดผลระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
1. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
2. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้า ใฝ่รู้ ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. บรรยายครอบคลุมเนื้อหาตามคำอธิบายรายวิชา
2. มอบหมายให้ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม หรือศึกษาด้วยตนเอง
3.กำหนดหัวข้อทางวิชาการให้กับนักศึกษาในการค้นคว้าความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ๆ
2. มอบหมายให้ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม หรือศึกษาด้วยตนเอง
3.กำหนดหัวข้อทางวิชาการให้กับนักศึกษาในการค้นคว้าความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ๆ
1. ทดสอบย่อย
2. สอบกลางภาค สอบปลายภาค
3. ประเมินจากรายงาน หรืองานที่มอบหมาย
2. สอบกลางภาค สอบปลายภาค
3. ประเมินจากรายงาน หรืองานที่มอบหมาย
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบแก้ปัญหาหรืองานอื่นโดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ
1. ยกตัวอย่างที่เหมาะสมในระหว่างการบรรยาย
2. มอบหมายงานให้นักศึกษา ทำแบบฝึกหัด และนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
2. มอบหมายงานให้นักศึกษา ทำแบบฝึกหัด และนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
1. ทดสอบย่อย
2. การนำเสนองาน
2. การนำเสนองาน
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. มอบหมายงานรายกลุ่ม หรือแบบฝึกหัดให้ทำเป็นกลุ่ม
2. ให้นำเสนองาน แบบฝึกหัด โดยกำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคน
2. ให้นำเสนองาน แบบฝึกหัด โดยกำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคน
1. ประเมินจากความรับผิดชอบงานกลุ่ม
2. ประเมินจากการนำเสนองาน
2. ประเมินจากการนำเสนองาน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. ใช้ Power point มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
2. มอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
2. มอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเมินจากผลงาน และการนำเสนอผลงาน
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม | 2.ด้านความรู้ | 3.ทักษะทางปัญญา | 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ | 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 |
1 | GEBSC105 | วิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.2, 2.3, และ 3.2 | สอบกลางภาค และปลายภาค | 9 และ 17 | ร้อยละ 40 |
2 | 1.3, 4.4, 5.1, 5.2, และ 5.3 | ประเมินจากรายงานหรืองานที่มอบหมาย ประเมินจากใบงาน ประเมินจากความรับผิดชอบงานกลุ่ม ประเมินจากการนำเสนองาน | ตลอดภาคการศึกษา | ร้อยละ 50 |
3 | 1.1 และ 4.4 | การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม | ตลอดภาคการศึกษา | ร้อยละ 10 |
1. นิลนี หงษ์ชุมพล และคณะ. (2550). โรคอาหารเป็นพิษจากสารฮีสตามีน. นนทบุรี: สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
2. พิพัฒน์ ลักษมีจรัลกุล. (2541). โรคเอดส์และการติดเชื้อเอชไอวี. ในกนกรัตน์ ศิริพานิชกร (บรรณาธิการ), โรคติดเชื้อ. กรุงเทพฯ. โฮลิสติก พับลิชชิ่ง.
3. สังคม จงพิพัฒน์วณิชย์ (2542) อาหารเพื่อสุขภาพ และ อาหารตามสมัย, กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์เรือนแก้วการพิมพ์.
4. โอภาส ภูชิสสะ อาหารแมคโครไบโอติกส์ธรรมชาติบำบัด – สุขภาพ ด้วยการแพทย์ผสมผสาน กองการแพทย์ทางเลือก.
5. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. (2552). เอกสารประกอบการสอน วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจ าวัน. พิมพค์ร้ังที่5. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
6. ชนิดา ปโชติการ ศัลยา คงสมบูรณ์เวช และอภิสิทธิ์ฉัตรทนานนท์(บรรณาธิการ). (2552). อาหารและ สุขภาพ Functional Foods for Health. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: เสริมมิตร.
7. เทวัญ ธานีรัตน์ วินัย แก้วมุณีวงศ์ และนภัส แก้ววิเชียร (บรรณาธิการ). (2551). ตำราวิชาการอาหารเพื่อสุขภาพ. กรุงเทพฯ: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
2. พิพัฒน์ ลักษมีจรัลกุล. (2541). โรคเอดส์และการติดเชื้อเอชไอวี. ในกนกรัตน์ ศิริพานิชกร (บรรณาธิการ), โรคติดเชื้อ. กรุงเทพฯ. โฮลิสติก พับลิชชิ่ง.
3. สังคม จงพิพัฒน์วณิชย์ (2542) อาหารเพื่อสุขภาพ และ อาหารตามสมัย, กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์เรือนแก้วการพิมพ์.
4. โอภาส ภูชิสสะ อาหารแมคโครไบโอติกส์ธรรมชาติบำบัด – สุขภาพ ด้วยการแพทย์ผสมผสาน กองการแพทย์ทางเลือก.
5. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. (2552). เอกสารประกอบการสอน วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจ าวัน. พิมพค์ร้ังที่5. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
6. ชนิดา ปโชติการ ศัลยา คงสมบูรณ์เวช และอภิสิทธิ์ฉัตรทนานนท์(บรรณาธิการ). (2552). อาหารและ สุขภาพ Functional Foods for Health. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: เสริมมิตร.
7. เทวัญ ธานีรัตน์ วินัย แก้วมุณีวงศ์ และนภัส แก้ววิเชียร (บรรณาธิการ). (2551). ตำราวิชาการอาหารเพื่อสุขภาพ. กรุงเทพฯ: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
1. วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต - มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี http://portal5.udru.ac.th/ebook/pdf/upload/17qJ8JiSQy872S31N8y8.pdf
2. คณะทำงานจัดทำข้อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย. (2542). คู่มือธงโภชนาการ กินพอดีสุขีทั่วไทย [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก HTTP:http://info.thaihealth.or.th/files/-1 41.pdf. สืบค้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2560.
3. สาธารณสุข, กระทรวง กรมควบคุมโรค. (2553). สถานการณ์การติดเชื้อเอชไอวีและเอดส์ ประเทศไทย บทสรุปประเด็นสถานการณ์การติดเชื้อเอชไอวีและเอดส์ในปัจจุบันของประเทศไทย [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก HTTP: http://epid.moph.go.th/reportaids/2010/T1_ 100430133509.pdf สืบค้นเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2560
2. คณะทำงานจัดทำข้อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย. (2542). คู่มือธงโภชนาการ กินพอดีสุขีทั่วไทย [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก HTTP:http://info.thaihealth.or.th/files/-1 41.pdf. สืบค้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2560.
3. สาธารณสุข, กระทรวง กรมควบคุมโรค. (2553). สถานการณ์การติดเชื้อเอชไอวีและเอดส์ ประเทศไทย บทสรุปประเด็นสถานการณ์การติดเชื้อเอชไอวีและเอดส์ในปัจจุบันของประเทศไทย [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก HTTP: http://epid.moph.go.th/reportaids/2010/T1_ 100430133509.pdf สืบค้นเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2560
1.1 ผลการประเมินผู้สอนออนไลน์
1.2 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 ติดตามงานที่มอบหมาย
2.3 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2 ติดตามงานที่มอบหมาย
2.3 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
3.1 ปรับปรุงการเรียนการสอนจากผลการประเมินของนักศึกษา
3.2 จัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอน
3.2 จัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอน
4.1 มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักศึกษา เพื่อนำไปพัฒนาการเรียนรู้
4.2 มีการบันทึกหลังการสอน
4.2 มีการบันทึกหลังการสอน
นำผลที่ได้จากการประเมินของนักศึกษา คะแนนสอบ นำมาสรุปผล และพัฒนารายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป