การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ

Integrated Marketing Communication

1.1 เพื่อให้ทราบถึงแนวคิดและทฤษฎีของการสื่อสารทางการตลาด  
1.2 เพื่อให้เข้าใจขั้นตอนการวางแผนกลยุทธ์การสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณการ ผ่านเครื่องมือสื่อสาร ทางการตลาดอันประกอบด้วย การโฆษณา การประชาสัมพันธ์และการให้ข่าวสารการตลาดเชิงกิจกรรม การส่งเสริมการขาย การขายโดยบุคคล และการตลาดทางตรง 
1.3  เพื่อให้เข้าใจจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณการให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ
2.1  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพและในชีวิตประจำวันได้
2.2  เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ 
2.3  ในการเรียนการสอนควรมีการปรับปรุงยกตัวอย่างให้มีความทันสมัย และตรงตามยุคตามสมัยนิยม หรือมีการออกไปดูงานนอกสถานที่เกี่ยวกับการประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่ประสบความสำเร็จ
 
 
ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีของการสื่อสารทางการตลาด  ขั้นตอนการวางแผน  กลยุทธ์การสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณการ  ผ่านเครื่องมือสื่อสารทางการตลาดอันประกอบด้วย  การโฆษณา  การประชาสัมพันธ์และการให้ข่าวสารการตลาดเชิงกิจกรรม  การส่งเสริมการขาย  การขายโดยบุคคล  และการตลาดทางตรง  รวมถึงจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณการให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ
อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล (เฉพาะรายที่ต้องการ) หรือรายกลุ่มนอกชั้นเรียน ตามความต้องการของนักศึกษา ดังนี้
3.1 จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา 16.00-17.00 ห้องพักอาจารย์สาขาวิชาการตลาด  คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์  โทร. 084-9093490
3.2 e-mail: Nayty_2521@hotmail.com หรือ เว็บไซต์เครือข่ายสังคม (Facebook) เฉพาะกลุ่มของระดับชั้นสาขาวิชาการตลาด ได้ทุกวัน
1.1 มีความซื่อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเอง และผู้อื่น ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่น และมีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม
1.2 มีความกตัญญู ความเสียสละ ความอดทน ความเพียรพยายาม
š1.3 มีความพอเพียงเป็นหลักในการดำ
เนินชีวิต โดยยึดแนวคิดพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกัน
˜1.4 มีความเคารพต่อกฎ ระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
˜1.5 มีจิตสำนึกและมีมโนธรรมที่แยกแยะความถูกต้อง ความดี และความชั่ว
-อาจารย์ประพฤติตนเป็นแบบอย่าง (Role Model
-การเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา case study
-การเรียนรู้โดยการใช้สื่อ Media Learning
-การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักProblem Based Learning
-งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
-การสังเกต
2.1 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการเรียนด้านบริหารธุรกิจ ที่ครอบคลุมทั้งการบัญชี เศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร์ ศิลปะศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
˜2.2 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ด้านบริหารธุรกิจทางการตลาด การเงิน การผลิต และการดำเนินงาน รวมทั้งการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์
˜2.3  มีความรู้และความเข้าใจในสาระ
สำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจในด้านการวางแผน การควบคุม และการประเมินผลการดำเนินงานรวมทั้งการปรับปรุงแผนงาน
š2.4  มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจรวมทั้ง
มีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง
และผลกระทบอย่างเท่าทัน
-ศึกษาด้วยตนเอง Self-Directed Learning -เข้ากลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้Co-operative Learning -การเรียนรู้โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ Evidence Based  Learning
 -งานที่ให้ปฏิบัติตาม สภาพจริง
-การสังเกต
-ข้อสอบอัตนัย 
-ข้อสอบปรนัย
˜3.1 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ต่อยอดกรอบความรู้เดิม สามารถบูรณการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษาและมีประสบการณ์เพื่อเกิดนวัตกรรม กิจกรรม หรือแนวทางในการบริหารธุรกิจใหม่ๆ
˜3.2 สามารถสืบค้น จำแนก และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ซึ่งสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา และตัดสินใจอย่างเหมาะสม
š3.3 สามารถคิดค้นทางเลือกใหม่ๆ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบที่เป็นผลจากทางเลือกอย่างรอบด้าน โดยการนำความรู้และประสบการณ์ประยุกต์ใช้
š3.4 มีความกล้าในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์
 -การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักProblem Based Learning
-การเรียนรู้โดยใช้รายงาน Project Based Learning
-การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ  Performance Based Learning  
 -งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
-การสังเกต
-ข้อสอบอัตนัย 
-ข้อสอบปรนัย
š4.1 มีความสามารถในการประสานงาน มีมนุษย์สัมพันธ์และสามารถสร้างสัมพันธภาพอันดีกับผู้อื่นด้วยพื้นฐานความเข้าใจถึงความแตกต่างของผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างมีจิตวิทยา
˜4.2 มีความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม การประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงความเป็นผู้นำที่มีความรับผิดชอบ
š4.3 มีความกระตือรือร้นและความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งมีความเป็นผู้ตามในจังหวะที่เหมาะสม
š4.4 มีความสามารถในการริเริ่มแสดงความคิดเห็นใหม่ๆ ที่อาจมีความแตกต่างอย่างสร้างสรรค์
-การเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา case study
-การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักProblem Based Learning
-การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ  Performance Based Learning
-การเรียนรู้โดยการใช้สื่อ Media Learning
-การเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นหลัก Community Based Learning
 -งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
-การสังเกต
5.1 สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ และการวิเคราะห์เชิงปริมาณมาใช้ในการวิเคราะห์และการตัดสินใจทางธุรกิจ
5.2 สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š5.3 สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานและเทคโนโลยีระบบสารสนเทศที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน ˜5.4 สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจา ˜5.5 สามารถสื่อสารด้วยบุคลิกภาพที่น่าเชื่อถือและสามารถเลือกใช้รูปแบบของสื่อ เทคนิควิธีการ และเทคโนโลยีที่เหมาะสมสอดคล้องกับกลุ่มบุคคลที่มีพื้นฐานและแนวคิดที่หลากหลาย š5.6 ความสามารถนำเทคโนโลยีไปเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนในการดำเนินงานและทราบถึงข้อจำกัดของเทคโนโลยี
š5.7 ความสามารถนำเทคโนโลยีการสื่อสารแบบเครือข่าย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสารและดำเนินงาน
 -การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ  Performance Based Learning
-ศึกษาด้วยตนเอง self-Directed Learning
-การเรียนรู้โดยใช้รายงานProject Based Learning
 -งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
-การสังเกต
-ข้อสอบอัตนัย
-ข้อสอบปรนัย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 3 4 1 2 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 7
1 12021204 การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 3.1.1, 3.1.2 , 4.1.2, 5.1.4, 5.1.5 การวิเคราะห์กรณีศึกษา การค้นคว้า การนำเสนอรายงาน 1.) การทำรายงาน/งานที่มอบหมาย - งานเดียว - งานกลุ่ม (เช่น ห้องปฏิบัติการขาย จัดบอรทด์ กิจกรรม) 2.) การส่งงานตามกำหนดเวลา 3) การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-8, 10-16 1) 30% 2) 20% 3) 10%
2 1.1.4, 1.1.5 การเข้าชั้นเรียน : คะแนนเจตคติ 1-8, 10-16 10%
3 2.1.2, 2.13 1) การสอบกลางภาค 2) การสอบปลายภาค 9, 17 30%
-สุวิมล  แม้นจริง และเกยูร  ใยบัวกลิ่น. (2550).  การสื่อสารทางการตลาด.  พิมพ์ครั้งที่ 1.  กรุงเทพฯ : ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น,
-นธกฤต  วันต๊ะเมล์. (2555).  การสื่อสารการตลาด.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
-สิทธิ์  ธีรสรณ์. (2552).  การสื่อสารทางการตลาด.  พิมพ์ครั้งที่ 2.  กรุงเทพฯ : บริษัท วี. พริ้นท์ (1991) จำกัด.
-www.blogger.com/mynameisajamm
-www.google.com
-www.manager.co.th
-http://brandage.com/Home/aspx
-http://marketingindeed.exteen.com/20060421/imc
-http://www.thannew.th.com/
-หนังสือพิมพ์ธุรกิจต่าง ๆ เช่น ประชาชาติธุรกิจ ฐานเศรษฐกิจ ผู้จัดการ ฯลฯ
-วารสาร นิตยสาร บทความหรืองานวิจัยต่าง ๆ ทางการตลาด และ เว็บไซด์ทางธุรกิจ  
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1  การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2  ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ