การวิจัยการตลาด
Marketing Research
1) เพื่อให้รู้และเข้าใจบทบาทและความสำคัญของการวิจัยการตลาดในการตัดสินใจทางธุรกิจ
2) เพื่อให้รู้และเข้าใจกระบวนการวิจัย การกำหนดข้อเสนอโครงการวิจัย การกำหนดงบประมาณและการบริหารโครงการวิจัย การเลือกใช้เทคนิคการวิจัยที่ถูกต้องเหมาะสม วิธีการสุ่มตัวอย่าง การเก็บและประมวลผลข้อมูลด้วยเทคนิคทางสถิติ
3) เพื่อให้รู้และเข้าใจการเขียนโครงการวิจัยที่เป็นไปตามหลัก Scientific Methods และการสร้างประสบการณ์จริงในการวิจัยให้แก่ผู้เรียน
2) เพื่อให้รู้และเข้าใจกระบวนการวิจัย การกำหนดข้อเสนอโครงการวิจัย การกำหนดงบประมาณและการบริหารโครงการวิจัย การเลือกใช้เทคนิคการวิจัยที่ถูกต้องเหมาะสม วิธีการสุ่มตัวอย่าง การเก็บและประมวลผลข้อมูลด้วยเทคนิคทางสถิติ
3) เพื่อให้รู้และเข้าใจการเขียนโครงการวิจัยที่เป็นไปตามหลัก Scientific Methods และการสร้างประสบการณ์จริงในการวิจัยให้แก่ผู้เรียน
เพิ่มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การเปลี่ยนแปลงเนื้อหาของรายวิชาซึ่งเป็นผลจากงานวิจัยใหม่ๆ ในสาขา
ศึกษาบทบาทและความสำคัญของการวิจัยการตลาดในการตัดสินใจทางธุรกิจ กระบวนการวิจัย การกำหนดข้อเสนอโครงการวิจัย การกำหนดงบประมาณและการบริหารโครงการวิจัย การเลือกใช้เทคนิคการวิจัยที่ถูกต้องเหมาะสม วิธีการสุ่มตัวอย่าง การเก็บและประมวลผลข้อมูลด้วยเทคนิคทางสถิติ เน้นการฝึกปฏิบัติงานโครงการวิจัยที่เป็นไปตามหลัก Scientific Methods และการสร้างประสบการณ์จริงในการวิจัยให้แก่ผู้เรียน
อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล (เฉพาะรายที่ต้องการ) หรือรายกลุ่มนอกชั้นเรียน ตามความต้องการของนักศึกษา ดังนี้
3.1 จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา 16.00-17.00 ห้องพักอาจารย์สาขาวิชาการตลาด คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ โทร. 084-9093490
3.2 e-mail: Nayty_2521@hotmail.com หรือ เว็บไซต์เครือข่ายสังคม (Facebook) เฉพาะกลุ่มของระดับชั้นสาขาวิชาการตลาด ได้ทุกวัน
3.1 จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลา 16.00-17.00 ห้องพักอาจารย์สาขาวิชาการตลาด คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ โทร. 084-9093490
3.2 e-mail: Nayty_2521@hotmail.com หรือ เว็บไซต์เครือข่ายสังคม (Facebook) เฉพาะกลุ่มของระดับชั้นสาขาวิชาการตลาด ได้ทุกวัน
1.1 มีความซื้อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเอง และผู้อื่น ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่น และมีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม
1.2 มีความกตัญญู ความเสียสละ ความอดทน ความเพียรพยายาม
1.3 มีความพอเพียงเป็นหลักในการดำเนินชีวิต โดยยึดแนวคิดพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกัน
1.4 มีความเคารพต่อกฎ ระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.5 มีจิตสำนึกและมีมโนธรรมที่แยกแยะความกต้อง ความดี และความชั่ว
1.2 มีความกตัญญู ความเสียสละ ความอดทน ความเพียรพยายาม
1.3 มีความพอเพียงเป็นหลักในการดำเนินชีวิต โดยยึดแนวคิดพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกัน
1.4 มีความเคารพต่อกฎ ระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.5 มีจิตสำนึกและมีมโนธรรมที่แยกแยะความกต้อง ความดี และความชั่ว
-อาจารย์ประพฤติตนเป็นแบบอย่าง (Role Model)
-การเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา case study
-การเรียนรู้โดยการใช้สื่อ Media Learning
-การเรียนรู้โดยใชปัญหาเป็นหลักProblem Based Learning
-การเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา case study
-การเรียนรู้โดยการใช้สื่อ Media Learning
-การเรียนรู้โดยใชปัญหาเป็นหลักProblem Based Learning
-งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
-การสังเกต
-การสังเกต
2.1 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการเรียนด้านบริหารธุรกิจ ที่ครอบคลุมทั้งการบัญชี เศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร์ ศิลปะศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
2.2 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ด้านบริหารธุรกิจทางการตลาด การเงิน การผลิต และการดำเนินงาน รวมทั้งการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์
2.3 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจในด้านการวางแผน การควบคุม และการประเมินผลการดำเนินงานรวมทั้งการปรับปรุงแผนงาน
2.4 มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน
2.2 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ด้านบริหารธุรกิจทางการตลาด การเงิน การผลิต และการดำเนินงาน รวมทั้งการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์
2.3 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจในด้านการวางแผน การควบคุม และการประเมินผลการดำเนินงานรวมทั้งการปรับปรุงแผนงาน
2.4 มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน
-การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักProblem Based Learnin
-การเรียนรู้โดยใช้รายงาน Project Based Learning
-การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ Performance Based Learning
-งานที่ให้ปฏิบัติตาม สภาพจริง
-การสังเกต
-ข้อสอบอัตนัย/ ข้อสอบปรนัย
-การสังเกต
-ข้อสอบอัตนัย/ ข้อสอบปรนัย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | คุณธรรม จริยธรรม | ความรู้ | ทักษะทางปัญญา | ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 |
1 | 12021401 | การวิจัยการตลาด |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 3.1.2 , 4.1.2 , 5.1.1 , 5.1.3, 5.1.4, 2.1.2 | 1)การทำรายงาน/งานที่มอบหมาย จากการทำโครงร่างงานวิจัยการตลาด การนำเสนอโครงร่างงานวิจัยการตลาด และการส่งรูปเล่มโครงร่างงานวิจัยการตลาด พร้อม CD 2) สอบกลางภาค | 1-8, 9 | 1) 20% 2) 20% |
2 | 3.1.2 , 4.1.2 , 5.1.1 , 5.1.3, 5.1.4, 2.1.2 | 1) การทำรายงาน/งานที่มอบหมาย จากการทำรายงานการวิจัยการตลาด การนำเสนองานวิจัยการตลาด และการส่งรูปเล่มรายงานการวิจัยการตลาดสมบูรณ์ พร้อม CD 2) สอบปลายภาค | 10-16, 17 | 1) 30% 2) 20% |
3 | 1.1.4 | คะแนนเจตคติเ/เข้าร่วมกิจกรรม | 1-8, 10-16 | 10% |
-ธานินทร์ ศิลปจารุ. การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. พิมพ์ครั้งที่ 10, กรุงเทพฯ :บรัษัท วี อินเตอร์ พริ้นท์ จำกัด, 2550
-กุณฑลี รื่นรมย์. การวิจัยการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 6, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์, 2551.
-นราศรี ไววนิชกุล และชูศักดิ์ อุดมศรี. ระเบียบวิธีวิจัยธุรกิจ. พิมพ์ครั้งที่ 21, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554.
-ยุทธ ไกยวรรณ์. วิจัยการตลาด. กรุงเทพฯ : บริษัท พิมพ์ดี จำกัด, 2550.
-เพ็ญศรี เขมะสุวรรณ. (ม.ป.ป.). การวิจัยตลาด. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
-สรชัย พิศาลบุตร. การวิจัยการตลาด. กรุงเทพฯ : บริษัทวิทยพัฒน์ จำกัด, 2551.
-สุวิมล ติรกานันท์. ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ : แนวทางสู่การปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 6, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549.
-นราศรี ไววนิชกุล และชูศักดิ์ อุดมศรี. ระเบียบวิธีวิจัยธุรกิจ. พิมพ์ครั้งที่ 21, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554.
-ยุทธ ไกยวรรณ์. วิจัยการตลาด. กรุงเทพฯ : บริษัท พิมพ์ดี จำกัด, 2550.
-เพ็ญศรี เขมะสุวรรณ. (ม.ป.ป.). การวิจัยตลาด. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
-สรชัย พิศาลบุตร. การวิจัยการตลาด. กรุงเทพฯ : บริษัทวิทยพัฒน์ จำกัด, 2551.
-สุวิมล ติรกานันท์. ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ : แนวทางสู่การปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 6, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549.
-หนังสืองานวิจัย (ตัวอย่างของรุ่นพี่ที่เคยทำมาก่อน)
-ค้นหางานวิจัยจาก www.thailis.or.th/tdc/
-http://www.marketing research/
-ค้นหางานวิจัยจาก www.thailis.or.th/tdc/
-http://www.marketing research/
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ